กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด


“ โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ”

ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอกนิษฐ์ ประสานสงค์

ชื่อโครงการ โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5226-5-03 เลขที่ข้อตกลง 18/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5226-5-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยมาตลอด เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียทั้งชีวิต รายได้ของครอบครัว ทั้งยังส่งผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ในปัจจุบันไข้เลือดออกสามารถพบได้ในคนทุกกลุ่มอายุ นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุข และภาคีเครือข่ายได้มีการดำเนินการเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมอย่างต่อเนื่อง แต่สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ยังคงมีการระบาดต่อเนื่องทุกปี และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย ข้อมูลจากรายงานการเฝ้าระวังสถานการณ์โรคไข้เลือดออก เขต 12 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2567 ประเทศไทย พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 41,902 ราย เสียชีวิต 37 ราย เขต 12 สงขลา พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 4,869 ราย (เพิ่มขี้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 258 ราย) คิดเป็น 0.99 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีที่ผ่านมา อัตราป่วย 98.31 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตจํานวน 3 ราย (จังหวัดสงขลา 2 ราย และจังหวัดยะลา 1 ราย) การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายจังหวัดสูงสุดอยู่ที่จังหวัดสงขลา พบผู้ป่วย 2,045 ราย อัตราป่วย 145.64 ต่อประชากรแสน
ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นตำบลอันดับหนึ่งของอำเภอระโนด มีผู้ป่วยทั้งหมด 25 ราย(ข้อมูล ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2567) และมักพบผู้ป่วยส่วนใหญ่ในสถานศึกษา ซึ่งเป็นแหล่งรวมของคนจำนวนมาก ทำให้เกิดการแพร่กระจายของโรคได้ง่าย และแพร่กระจายเป็นวงกว้าง นอกจากนี้จากข้อมูลการสำรวจค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน พบว่า ค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในเขตเทศบาลตำบลระโนด มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน (HI = 12.04) ซึ่งจากการสำรวจส่วนใหญ่พบลูกน้ำในภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว เช่น แก้วพลาสติก ขวดน้ำที่ ไม่ปิดฝา ถังน้ำ ฯลฯ
จากปัญหาโรคไข้เลือดออกข้างต้น ชมรม อสม. ตำบลระโนด จึงได้จัดทำกิจกรรมโครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย เพื่อเริ่มปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุก โดยเน้นการมีส่วนร่วมให้นักเรียน ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา พร้อมทั้งสร้างแกนนำ สำหรับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิะีและเหมาะสม
  2. เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันไข้เลือดออกพิชิตยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน
  2. ครู นักเรียน ตระหนัก มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย จนเป็นกิจวัตรที่บ้าน โรงเรียน และชุมชน
  3. นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกัน ควบคุมโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ไปประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ผู้อื่นได้
  4. ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน เท่ากับ 0 (CI = 0)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิะีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจโรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีเหมาะสม ร้อยละ 90
81.00

 

2 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนเท่ากับ 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิะีและเหมาะสม (2) เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันไข้เลือดออกพิชิตยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5226-5-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอกนิษฐ์ ประสานสงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด