โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ)
หัวหน้าโครงการ
นายวุฒิพงษ์ อำภัยฤทธิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-09 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ)
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) รหัสโครงการ 68-L3312-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,745.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีโดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของนักเรียนเป็นอย่างมาก ส่งผลให้นักเรียนจำนวนมากใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับหน้าจอมือถือ วันละหลายๆชั่วโมงติดต่อกัน จนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันและทำให้เด็กไม่เห็นความสำคัญของการเรียน ปฏิเสธที่จะทำการบ้าน แค่ใช้เวลาการเล่นเกม ดูคลิป หรือใช้โซเชียลมีเดีย ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น สายตาเสื่อม ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ภาวะเครียด รวมถึงการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
จากการสำรวจข้อมูลพบว่านักเรียนในโรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) มีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 75 และใช้เวลากับการเล่นโทรศัพท์มือถือในกิจกรรมยามว่างหลังเลิกเรียนและกลางคืน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียน โดยนักเรียนไม่สามารถแยกแยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้โทรศัพท์ได้ นักเรียนไม่มีสมาธิในการเรียน จึงส่งผลกระทบต่อการเรียน ประกอบกับในช่วงเวลากลางคืนมักใช้เวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือมากเกินไป ทำให้พักผ่อนไม่เพี่ยงพอ จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตด้วย นักเรียนหลายคนมีกิจกรรมทางกายน้อยลง ไม่ค่อยออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกาย ทำให้เสี่ยงต่อโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ ดังนั้น โรงเรียนจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมนิสัยการใช้ชีวิตที่สมดุล โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อสร้างกิจกรรมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดการใช้โทรศัพท์มือถือ หันมาเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีต่อสุขภาพด้วยการออกกำลังกายผ่านการเล่นที่มีกิจกรรมทางกาย (Active Play) ให้มากขึ้น เพื่อทดแทนการเล่นสมาร์ทโฟน โดยเลือกเป็นการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง โดยเพิ่มการขยับและออกกำลังกายให้มากขึ้น อีกทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของนักเรียนภายใต้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนนอกจากนั้นยังวางแผนส่งเสริมสุขภาพของชุมชน โดยให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการออกกำลังกายในเวลาเย็นอีกด้วยการสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขกายกายและสุขภาพจิตที่ดีให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากโทรศัพท์มือถือ สามารถช่วยเด็กได้กลับมาใช้ชีวิตที่ดีขึ้น
โดยจัดทำโครงการ “ลดการใช้โทรศัพท์ เพิ่มการขยับและออกกำลังกาย” ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนลดเวลาการใช้โทรศัพท์มือถือในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม และเพิ่มพฤติกรรมการขยับร่างกายหรือออกกำลังกายในแต่ละวัน เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
- เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจข้อมูลเบื้องต้น
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมติดตามกิจกรรมทางกาย และติดตามโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
107
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง
80
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือลดลงและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
70.00
85.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
50.00
80.00
3
เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ลดการใช้โทรศัพท์มือถือ
25.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
187
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
107
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ปกครอง
80
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ (3) เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลเบื้องต้น (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ (3) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (4) กิจกรรมติดตามกิจกรรมทางกาย และติดตามโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวุฒิพงษ์ อำภัยฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ)
หัวหน้าโครงการ
นายวุฒิพงษ์ อำภัยฤทธิ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-09 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ)
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) รหัสโครงการ 68-L3312-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,745.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีโดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของนักเรียนเป็นอย่างมาก ส่งผลให้นักเรียนจำนวนมากใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับหน้าจอมือถือ วันละหลายๆชั่วโมงติดต่อกัน จนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันและทำให้เด็กไม่เห็นความสำคัญของการเรียน ปฏิเสธที่จะทำการบ้าน แค่ใช้เวลาการเล่นเกม ดูคลิป หรือใช้โซเชียลมีเดีย ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น สายตาเสื่อม ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ภาวะเครียด รวมถึงการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม จากการสำรวจข้อมูลพบว่านักเรียนในโรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) มีโทรศัพท์มือถือร้อยละ 75 และใช้เวลากับการเล่นโทรศัพท์มือถือในกิจกรรมยามว่างหลังเลิกเรียนและกลางคืน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียน โดยนักเรียนไม่สามารถแยกแยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้โทรศัพท์ได้ นักเรียนไม่มีสมาธิในการเรียน จึงส่งผลกระทบต่อการเรียน ประกอบกับในช่วงเวลากลางคืนมักใช้เวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือมากเกินไป ทำให้พักผ่อนไม่เพี่ยงพอ จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตด้วย นักเรียนหลายคนมีกิจกรรมทางกายน้อยลง ไม่ค่อยออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกาย ทำให้เสี่ยงต่อโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ ดังนั้น โรงเรียนจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมนิสัยการใช้ชีวิตที่สมดุล โรงเรียนบ้านโคกม่วง(ดำประชาอุทิศ) เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อสร้างกิจกรรมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดการใช้โทรศัพท์มือถือ หันมาเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีต่อสุขภาพด้วยการออกกำลังกายผ่านการเล่นที่มีกิจกรรมทางกาย (Active Play) ให้มากขึ้น เพื่อทดแทนการเล่นสมาร์ทโฟน โดยเลือกเป็นการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง โดยเพิ่มการขยับและออกกำลังกายให้มากขึ้น อีกทั้งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของนักเรียนภายใต้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนนอกจากนั้นยังวางแผนส่งเสริมสุขภาพของชุมชน โดยให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการออกกำลังกายในเวลาเย็นอีกด้วยการสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขกายกายและสุขภาพจิตที่ดีให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลจากโทรศัพท์มือถือ สามารถช่วยเด็กได้กลับมาใช้ชีวิตที่ดีขึ้น โดยจัดทำโครงการ “ลดการใช้โทรศัพท์ เพิ่มการขยับและออกกำลังกาย” ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนลดเวลาการใช้โทรศัพท์มือถือในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม และเพิ่มพฤติกรรมการขยับร่างกายหรือออกกำลังกายในแต่ละวัน เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
- เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจข้อมูลเบื้องต้น
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- กิจกรรมติดตามกิจกรรมทางกาย และติดตามโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 107 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ปกครอง | 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือลดลงและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) |
70.00 | 85.00 |
|
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ |
50.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ลดการใช้โทรศัพท์มือถือ |
25.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 187 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 107 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ปกครอง | 80 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ (3) เพื่อลดการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลเบื้องต้น (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ภัยทางสุขภาพจากการติดโทรศัพท์มือถือ (3) ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (4) กิจกรรมติดตามกิจกรรมทางกาย และติดตามโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดการใช้โทรศัพท์เพิ่มการขยับและออกกำลังกายโรงเรียนบ้านโคกม่วง (ดำประชาอุทิศ) ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวุฒิพงษ์ อำภัยฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......