กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย


“ โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง ”

ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธีรเดช สุขบัวแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3340-03-03 เลขที่ข้อตกลง 027/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2567 ถึง 16 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3340-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2567 - 16 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,645.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     การรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมและเพียงพอทำให้ทุกคนมีโภชนการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้าม หากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ในปริมาณที่ไม่เหมาะสม จะทำให้เป็นโรคขาดสารอาหารหรือถ้ากินมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน มีภาวะโภชนาการไม่สมวัย ร่างกายจำเป็นต้องนำสารอาหารที่มีประโยชน์ไปใช้ทำงานในระบบต่าง ๆ ให้มีความสมดุลและมีประสิทธิภาพ อาหารและโภชนการเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในทุก ๆ วัย ทั้งวัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในวัยเด็ก ซึ่งเป็นวัยที่มีการวางรากฐานพัฒนาการ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคมและสติปัญญา เป็นระยะแรกที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องได้รับการดูแลและเลี้ยงดูอย่างดีที่สุด เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับเด็ก อาหารและโภชนาการที่ดี จีงเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต ซึ่งเป็นปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็ก ได้แก่ ภาวะโภชนการไม่สมวัย มีปัญหาน้ำหนักไม่ตามเกณฑ์ ล้วนมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องทั้งการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ได้แก่ ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม เด็กไม่ชอบรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ประเภท ผัก ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในการประกอบอาหารเพื่อสร้างแรงจูงใจให้อาหารน่ารับประทาน ดังนั้นเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย ต้องดูแลการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสมทั้งอยู่ที่บ้านและที่โรงเรียน กอปรสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการสื่อสาร เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการปลูกฝังให้เด็กมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีภาวะสุขภาพที่แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ แต่อย่างไรก็ตาม ยังพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วนเพียงร้อยละ 62.5 (รายงานผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน ปีงบประมาณ 2563, สำนักโภชนาการ) เป้าหมายกำหนดร้อยละ 66 โดยพบแนวโน้มเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ปี 2561 – 2563 เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7, 13.6 และ 13.1 ตามลำดับ เป้าหมายกำหนดไม่เกินร้อยละ 10 และภาวะเตี้ยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 5.5, 8.9 และ 9.9 ตามลำดับ เป้าหมายกำหนดไม่เกินร้อยละ 5 (ข้อมูลระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ณ 30 มิถุนายน 2563) สถานการณ์เขตสุขภาพที่ 7 พบว่าเด็กอายุ 6 – 14 ปีสูงดีสมส่วนร้อยละ 72.8 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายประเทศที่กำหนดไว้ร้อยละ 66 และเขตสุขภาพที่ 7 ร้อยละ 72 และเด็กเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 8.8 ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 10 แต่พบปัญหาเด็กเตี้ยมากถึงร้อยละ 7.8 ซึ่งมากกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 5 ปัจจัยที่ทำให้มีปัญหาทางโภชนาการส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ที่ไม่ถูกต้อง ทั้งปริมาณและสัดส่วนในแต่ละวัน มีการเคลื่อนไหวออกแรงน้อย รวมทั้งค่านิยมรับประทานอาหาร เลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก ชอบรับประทานอาหารปรุงสำเร็จ หรืออาหารจานด่วนที่ประกอบด้วยไขมัน และน้ำตาลสูง (สำนักงานสถิติ, 2557)
    ดังนั้น โรงเรียนจึงจัดโครงการอบรมเชิงปฎิบัตการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครองนี้เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการและการดูแลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสม มุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพในครอบครัวและโรงเรียน รวมถึงเกิดความร่วมมือระหว่างบุคลากรด้านสาธารณสุข บุคลากรด้านการศึกษาและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ซึ่งส่งผลให้ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนหินแท่น มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเอง ตลอดจนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง เติบโตสมวัย เป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม
  2. 2 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการและการดูแลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสม
  3. 3 เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู็
  2. อบรมให้ความรู็

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 104
กลุ่มวัยทำงาน 95
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านควนหินแท่น มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง เติบโตสมวัย
  2. เกิดการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพในครอบครัวและโรงเรียนบ้านควนหินแท่น
  3. เกิดความร่วมมือระหว่างบุคลากรด้านสาธารณสุข บุคลากรด้านการศึกษาและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกัน
  4. ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านควนหินแท่น มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองพร้อมรองรับสถานการณ์โรคอุบัติใหม่ตลอดจนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง เติบโตสมวัย เป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม
80.00

 

2 2 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการและการดูแลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง โภชนาการและการดูแลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสม
80.00

 

3 3 เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู ผู้ปกครองตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 199
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 104
กลุ่มวัยทำงาน 95
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม (2) 2 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการและการดูแลพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างเหมาะสม (3) 3 เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของโภชนาการตามวัยที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู็ (2) อบรมให้ความรู็

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการส่งเสริมโภชนาการแบบครบวงจรเด็กและผู้ปกครอง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3340-03-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธีรเดช สุขบัวแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด