โครงการ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข"
ชื่อโครงการ | โครงการ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข" |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลเเดงหม้อ |
วันที่อนุมัติ | 14 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 14 สิงหาคม 2567 - 12 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 11 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 12 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) | 63.46 | ||
2 | ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) | 51.22 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรวัยสูงอายุอย่างรวดเร็วส่งผลถึงความต้องการการดูแลด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้นตามเช่นเดียวกัน ในขณะที่ทุกคนต่างคาดหวังว่าจะมีอายุยืนยาวและมีสุขภาพดี แต่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มักมีโรคประจำตัวอย่างน้อยคนละ 1 โรคซึ่งเกิดจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันลดลง แต่ขณะเดียวกันมี เวลาอยู่นิ่งเฉย (Sedentary time) เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มประชากรอายุอื่น
การมีกิจกรรมทางกาย ที่ไม่เพียงพอ และการมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง ของประชากรมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลก และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 4 ของประชากรโลก ในประเทศไทยพบว่า คนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด การมีกิจกรรมทางกายที่ลดลงร่วมกับการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งที่เพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยการเกิดโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable disease: NCDs) มากมาย ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ภาวะของเมตะบอลิคซินโดรม หรือ “โรคอ้วนลงพุง” ภาวะกระดูกพรุน ภาวะซึมเศร้าและ โรควิตกกังวล เป็นต้นทำให้คนไทย เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ เพราะสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้นเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของแต่ละบุคคล
จากหลักการและเหตุผล ดังกล่าวองค์การบริหารส่วนตำบลแดงหม้อได้ตระหนักถึงความสำคัญการมีกิจกรรมทางการที่เพียงพอ ในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ใหญ่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
63.46 | 65.46 |
2 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
51.22 | 55.22 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
14 ส.ค. 67 | ขั้นตอนที่ 1 ชี้เเจ้งรายละเอียดโครงการให้คณะทำงานทราบ | 0 | 0.00 | - | ||
23 ส.ค. 67 | ขั้นตอนที่ 2 คัดกรอง พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรค NCDs ครั้งที่ 1 | 0 | 6,500.00 | - | ||
11 ก.ย. 67 | ขั้นตอนที่ 3 ติดตามผลการดำเนินการ | 0 | 3,500.00 | - | ||
12 ก.ย. 67 | ขั้นตอนที่ 4 สรุปเเละรายงานการดำเนินโครงการ | 0 | 0.00 | - | ||
รวม | 0 | 10,000.00 | 0 | 0.00 |
1.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) ร้อยละ 65.66
2.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)ร้อยละ 55.22
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.ค. 2567 16:31 น.