โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมุกดา เพชรแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พลังสุขภาพจิต หรือความเข้มแข็งทางใจ เป็นความสามารถของบุคคลในการป้องกันหรือเอาชนะผลกระทบจากความทุกข์ยาก พลังสุขภาพจิตอาจเปลี่ยนหรือทำให้บุคคลมีความยืดหยุ่นซึ่งลักษณะพฤติกรรมดังกล่าวเป็นความสามารถทางอารมณ์และจิตใจในการปรับตัวและฟื้นตัวกลับสู่ภาวะปกติ ภายหลังจากพบกับเหตุการณ์วิกฤตหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความยากลำบากในชีวิตซึ่งเป็นคุณสมบัติหนึ่งที่ช่วยให้บุคคลผ่านพ้นปัญหาอุปสรรคและดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุข และผู้ป่วยกลุ่มโรคทางจิตเวชเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญและมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น โรคทางจิตเวชคือกลุ่มอาการทางจิตหรือพฤติกรรมที่ทำให้บุคคลนั้นเกิดความทุกข์ทรมานหรือมีความบกพร่องในกิจวัตรประจำวัน โรคทางจิตเวชมีอยู่หลายประเภท โรคทางจิตเวชที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล, โรคอารมณ์สองขั้ว, โรคจิตเภทและโรคทางจิตเวชที่เกิดจากการใช้สารเสพติด ซึ่งกลุ่มโรคจิตเวช มีความผิดปกติด้านความคิด การรับรู้ การแสดงออกทางอารมณ์ การสื่อสาร และ พฤติกรรมเป็นความเจ็บป่วยเรื้อรังที่ยุ่งยากต่อการดูแลรักษาและมีโอกาสกลับเป็นซ้ำโดยเฉพาะโรคจิตเภท มีโอกาสกลับเป็นซ้ำได้ร้อยละ 53 - 72 ส่งผลให้ผู้ป่วยมีพยาธิสภาพถาวรจนถึงขั้นไม่สามารถดูแลตนเองได้
ปีงบประมาณ 2566 คลินิกสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาลสิเกา มีกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชมารับบริการ จำนวน 496 ราย และมีอาการกำเริบรุนแรงเกินความสามารถได้ส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลตรัง จำนวน 45 ราย จึงต้องมีผู้สนับสนุนดูแลช่วยเหลือจึงจะสามารถดำเนินชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ ผู้ดูแลจึงเป็นบุคคลสำคัญที่ต้องดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว อย่างใกล้ชิดและต้องดูแลต่อเนื่องเป็นระยะเวลา ยาวนาน ระยะเวลาในการดูแลรักษาที่ยาวนานโดยหาที่สิ้นสุดไม่ได้ทำให้ผู้ดูแลมีความทุกข์ใจ ตึงเครียด อยู่ตลอดเวลา หมดกำลังใจ คิดว่าเป็นตราบาปและรู้สึกเป็นภาระส่งผลกระทบต่อพลังสุขภาพจิตหรือความเข็มแข็งทางใจต่ำลง ภาวะโรคกลุ่มทางจิตเวช เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่นำไปสู่ปัญหาดำเนินชีวิตประจำวัน เนื่องจากภาวะดังกล่าวจะทำให้ผู้ดูแลและกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชเกิดความรู้สึก เบื่อหน่ายความสนใจสิ่งต่าง ๆ ลดลง จิตใจหดหู่ ห่อเหี่ยว เซ็ง เศร้าโศกเสียใจง่าย มักน้อยใจ ร้องไห้ บ่อย มีความทุกข์ทรมานอย่างมากและมักทำให้เกิดความรู้สึกท้อแท้ใจ (Touhy, Jett, & Ebersole, 2014) รวมถึงพฤติกรรมการนอนเปลี่ยนไป รู้สึกแย่ กับตัวเอง รู้สึกผิด รู้สึกไร้ค่า หรือคิดว่าตนเป็นภาระของผู้อื่น หากมีอาการมากๆอาจมีความคิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ พูดถึงความตายบ่อยๆ และอาจวางแผนทำร้ายตนเอง การเผชิญกับปัญหาต่างๆไม่เหมาะสมทำให้ส่งผลกระทบต่อพลังสุขภาพจิตหรือความเข็มแข็งทางใจลดลงได้เช่นเดียวกัน การเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตหรือความเข้มแข็งทางใจจึงเป็นการเสริมสร้างให้บุคคลมีความเข้มแข็งสามารถเผชิญปัญหาให้ผ่านพ้นอุปสรรคไปได้ และเป็นการบำบัดทางสังคมจิตใจที่มีความสำคัญในการช่วยเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าของบุคคล ทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล จากการทบทวนวรรณกรรม การส่งเสริมให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลเห็นคุณค่าในตนเองเป็นการพัฒนาความเข้มแข็ง ทางใจ และการเสริมสร้างความสามารถ ในความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วย เชิงบวกทำให้เกิดความพร้อมทางใจที่จะเผชิญกับทุกสถานการณ์อย่างมั่นใจ และมีความอดทนต่อการเผชิญปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม สามารถรับมือกับความเครียดและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิต ให้กลับสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว
ดังนั้นงานจิตเวชยาเสพติด กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา ตระหนักถึงความสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของกลุ่มผู้ป่วยและผู้ดูแลของกลุ่มโรคทางจิตเวช เพื่อเสริมความ เข้มแข็งทางใจ เพิ่มพลังสุขภาพจิตให้กับกลุ่มบุคคลดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ปี 2567 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพลังสุขภาพจิตที่เข้มแข็งขึ้น สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม ช่วยลดภาวะการเจ็บป่วยและทำ ให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในในชุมชนบ่อหิน ปี 2567
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้ป่วยจิตเวชเพิ่มขึ้น
- ผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย ไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำ
- อัตราการฆ่าตัวตายในพื้นที่ลดลง
- ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
วันที่ 30 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ (กลุ่มเสี่ยง)และ ผู้ดูแลผู้ป่วย หมู่ 1, 2, 3, 6, 8, และ 9 ตำบลบ่อหิน เพื่อเตรียมพร้อมดำเนินโครงการ
- จัดทำแผนปฏิบัติงานและประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมโครงการ ประกอบด้วยอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
- รายงานผลการดำเนินโครงการ ต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้ป่วยจิตเวชเพิ่มขึ้น
- ผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย ไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำ
- อัตราการฆ่าตัวตายในพื้นที่ลดลง
- ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน
2
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
3
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน (2) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ (3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในในชุมชนบ่อหิน ปี 2567 (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมุกดา เพชรแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมุกดา เพชรแก้ว
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พลังสุขภาพจิต หรือความเข้มแข็งทางใจ เป็นความสามารถของบุคคลในการป้องกันหรือเอาชนะผลกระทบจากความทุกข์ยาก พลังสุขภาพจิตอาจเปลี่ยนหรือทำให้บุคคลมีความยืดหยุ่นซึ่งลักษณะพฤติกรรมดังกล่าวเป็นความสามารถทางอารมณ์และจิตใจในการปรับตัวและฟื้นตัวกลับสู่ภาวะปกติ ภายหลังจากพบกับเหตุการณ์วิกฤตหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความยากลำบากในชีวิตซึ่งเป็นคุณสมบัติหนึ่งที่ช่วยให้บุคคลผ่านพ้นปัญหาอุปสรรคและดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุข และผู้ป่วยกลุ่มโรคทางจิตเวชเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญและมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น โรคทางจิตเวชคือกลุ่มอาการทางจิตหรือพฤติกรรมที่ทำให้บุคคลนั้นเกิดความทุกข์ทรมานหรือมีความบกพร่องในกิจวัตรประจำวัน โรคทางจิตเวชมีอยู่หลายประเภท โรคทางจิตเวชที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล, โรคอารมณ์สองขั้ว, โรคจิตเภทและโรคทางจิตเวชที่เกิดจากการใช้สารเสพติด ซึ่งกลุ่มโรคจิตเวช มีความผิดปกติด้านความคิด การรับรู้ การแสดงออกทางอารมณ์ การสื่อสาร และ พฤติกรรมเป็นความเจ็บป่วยเรื้อรังที่ยุ่งยากต่อการดูแลรักษาและมีโอกาสกลับเป็นซ้ำโดยเฉพาะโรคจิตเภท มีโอกาสกลับเป็นซ้ำได้ร้อยละ 53 - 72 ส่งผลให้ผู้ป่วยมีพยาธิสภาพถาวรจนถึงขั้นไม่สามารถดูแลตนเองได้
ปีงบประมาณ 2566 คลินิกสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาลสิเกา มีกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชมารับบริการ จำนวน 496 ราย และมีอาการกำเริบรุนแรงเกินความสามารถได้ส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลตรัง จำนวน 45 ราย จึงต้องมีผู้สนับสนุนดูแลช่วยเหลือจึงจะสามารถดำเนินชีวิตได้ใกล้เคียงปกติ ผู้ดูแลจึงเป็นบุคคลสำคัญที่ต้องดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว อย่างใกล้ชิดและต้องดูแลต่อเนื่องเป็นระยะเวลา ยาวนาน ระยะเวลาในการดูแลรักษาที่ยาวนานโดยหาที่สิ้นสุดไม่ได้ทำให้ผู้ดูแลมีความทุกข์ใจ ตึงเครียด อยู่ตลอดเวลา หมดกำลังใจ คิดว่าเป็นตราบาปและรู้สึกเป็นภาระส่งผลกระทบต่อพลังสุขภาพจิตหรือความเข็มแข็งทางใจต่ำลง ภาวะโรคกลุ่มทางจิตเวช เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่นำไปสู่ปัญหาดำเนินชีวิตประจำวัน เนื่องจากภาวะดังกล่าวจะทำให้ผู้ดูแลและกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชเกิดความรู้สึก เบื่อหน่ายความสนใจสิ่งต่าง ๆ ลดลง จิตใจหดหู่ ห่อเหี่ยว เซ็ง เศร้าโศกเสียใจง่าย มักน้อยใจ ร้องไห้ บ่อย มีความทุกข์ทรมานอย่างมากและมักทำให้เกิดความรู้สึกท้อแท้ใจ (Touhy, Jett, & Ebersole, 2014) รวมถึงพฤติกรรมการนอนเปลี่ยนไป รู้สึกแย่ กับตัวเอง รู้สึกผิด รู้สึกไร้ค่า หรือคิดว่าตนเป็นภาระของผู้อื่น หากมีอาการมากๆอาจมีความคิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ พูดถึงความตายบ่อยๆ และอาจวางแผนทำร้ายตนเอง การเผชิญกับปัญหาต่างๆไม่เหมาะสมทำให้ส่งผลกระทบต่อพลังสุขภาพจิตหรือความเข็มแข็งทางใจลดลงได้เช่นเดียวกัน การเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตหรือความเข้มแข็งทางใจจึงเป็นการเสริมสร้างให้บุคคลมีความเข้มแข็งสามารถเผชิญปัญหาให้ผ่านพ้นอุปสรรคไปได้ และเป็นการบำบัดทางสังคมจิตใจที่มีความสำคัญในการช่วยเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าของบุคคล ทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล จากการทบทวนวรรณกรรม การส่งเสริมให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลเห็นคุณค่าในตนเองเป็นการพัฒนาความเข้มแข็ง ทางใจ และการเสริมสร้างความสามารถ ในความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วย เชิงบวกทำให้เกิดความพร้อมทางใจที่จะเผชิญกับทุกสถานการณ์อย่างมั่นใจ และมีความอดทนต่อการเผชิญปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม สามารถรับมือกับความเครียดและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิต ให้กลับสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว
ดังนั้นงานจิตเวชยาเสพติด กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสิเกา ตระหนักถึงความสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของกลุ่มผู้ป่วยและผู้ดูแลของกลุ่มโรคทางจิตเวช เพื่อเสริมความ เข้มแข็งทางใจ เพิ่มพลังสุขภาพจิตให้กับกลุ่มบุคคลดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ปี 2567 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพลังสุขภาพจิตที่เข้มแข็งขึ้น สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม ช่วยลดภาวะการเจ็บป่วยและทำ ให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในในชุมชนบ่อหิน ปี 2567
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและผู้ป่วยจิตเวชเพิ่มขึ้น
- ผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย ไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำ
- อัตราการฆ่าตัวตายในพื้นที่ลดลง
- ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน |
|
|||
2 | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ |
|
|||
3 | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 70 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มโรคจิตเวชและสารเสพติดในชุมชน (2) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้และทักษะในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ (3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง และผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถคัดกรองและเฝ้าระวังอาการกำเริบของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในในชุมชนบ่อหิน ปี 2567 (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มโรคทางจิตเวชและทักษะการการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางใจในชุมชนบ่อหิน ประจำปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67 – L8429 - 01 - 14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมุกดา เพชรแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......