กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย ”

โรงเรียนตัสดีกียะห์ หมู่ที่1 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายรอเซ็ด เบ็นแหละแหนะ

ชื่อโครงการ โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย

ที่อยู่ โรงเรียนตัสดีกียะห์ หมู่ที่1 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2567-L5179-02-19 เลขที่ข้อตกลง 24/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนตัสดีกียะห์ หมู่ที่1 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนตัสดีกียะห์ หมู่ที่1 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2567-L5179-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,515.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระโดดเชือกเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายชนิดหนึ่ง ที่เล่นง่าย ไม่ใช้อุปกรณ์มาก ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย หากปฏิบัติเป็นประจำสม่ำเสมอจะช่วยพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย โดยเฉพาะสมรรถภาพทางด้านระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจอย่างเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม ด้วยเหตุนี้มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้รณรงค์ส่งเสริมกิจกรรมกระโดดเชือกอย่างจริงจัง ในกลุ่มเยาวชนและประชาชนคนไทยทั่วไป เพื่อให้ทุกคนปลอดภัย และลดความเสี่ยงจากโรคหัวใจ ในปัจจุบันสังคมโลกให้ความสนใจ และความสำคัญต่อการกระโดดเชือกมากและยอมรับกันแล้วว่ากระโดดเชือกได้พัฒนาเป็นกีฬาชนิดหนึ่ง ที่มีรูปแบบการเล่นหลากหลาย มีวิธีการเล่น ทักษะ เทคนิค กติกามากมาย มีท่ากระโดดที่พลิกแพลง ซับซ้อน มีสีสันของความสวยงาม น่าตื่นตาตื่นใจ สนุกสนาน และท้าทายความสามารถ มีการแข่งขันทั้งเพศชาย และเพศหญิง ตั้งแต่ระดับผู้เริ่มเล่น ระดับกลาง จนสู่ระดับมืออาชีพ มีการแข่งขันตั้งแต่อนุชน เยาวชน จนสู่ระดับนานาชาติ และระดับโลก ทั้งนี้ทางโรงเรียนจึงจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อตอบสนองโครงการของมูลนิธิโรคหัวใจและเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น โรงเรียนตัสดีกียะห์ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้นักเรียนได้การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ จึงได้จัดทำโครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย

ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนการออกกำลังกายโดยกระโดดเชือก นอกจากจะช่วยส่งเสริมและพัฒนาให้นักเรียนมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงแล้วยังส่งเสริมให้เยาวชนได้เห็นถึงความสำคัญในเรื่องของการออกกำลังกายมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  3. อบรมให้ความรู้ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นกระโดดเชือก
  4. ดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกระโดดเชือก
  5. ประเมินการมาออกกำลังกายด้วยการเล่นกระโดเชือกของเด็กนักเรียน
  6. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายกระโดดเชือก
  2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัย
  3. นักเรียนมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ทุกๆสัปดาห์อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน เพื่อร่วมวางแผน กำหนดกิจกรรม ดำเนินกิจกรรมร่วมกัน

  • ค่าอาหารว่างประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน จำนวน 5 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 125 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงานและได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน

 

0 0

2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นกระโดดเชือก

  • ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สถานที่เอื้อต่อการส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้เด็กนักเรียนเล่นกิจกรรมทางกายได้อย่างปลอดภัย

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นกระโดดเชือก

วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นกระโดดเชือก มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คนๆ25 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท - ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 3x1.2 เมตร เป็นเงิน 540 บาท (ไวนิลตารางเมตรละ 150 บาท) - ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรมประกอบด้วย 1. ปากกา จำนวน 90 ด้าม ด้ามละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท 2. สมุด จำนวน 90 เล่ม  เล่มละ 10 บาท เป็นเงิน 900 บาท 3. แฟ้ม จำนวน 90 แฟ้ม แฟ้มละ 30 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีทักษะในการออกกำลังกายกระโดดเชือก และมีสุขภาพแข็งแรง

 

0 0

4. ดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกระโดดเชือก

วันที่ 5 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการออกกำลังกายกระโดดเชือก จำนวน 5 วัน/สัปดาห์ จำนวน 40 ครั้ง (ทุกวันจันทร์-วันศุกร์) วันละ 30 นาที เริ่มตั้งแต่เวลา 08.30 น.-09.30 น.
- ค่าเชือกกระโดดรุ่น JR500 จำนวน 90 เส้นๆละ 150 บาท เป็นเงิน 13,500 บาท - ค่าน้ำดื่มเหมาจ่ายทั้งโครงการ เป็นเงิน 4,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนตาดีกาได้เล่นกิจกรรมทางกายด้วยกระโดดเชือก

 

0 0

5. ประเมินการมาออกกำลังกายด้วยการเล่นกระโดเชือกของเด็กนักเรียน

วันที่ 27 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินการมาออกกำลังกายด้วยการเล่นกระโดเชือกของเด็กนักเรียน เด็กๆมาครบตามเป้าหมายที่ตั้งหรือไม่ - ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลประเมินการมาออกกำลังกายด้วยการเล่นกระโดเชือกของเด็กนักเรียนในแต่ละสัปดาห์

 

0 0

6. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 29 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ - ค่าเข้าเล่มเอกสารรายงานผล จำนวน 2 เล่มๆละ 150 บาท รวมเป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละของนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายที่พอเพียงเพิ่มขึ้น - ร้อยละของนักเรียนที่มีการออกกำลังกายอย่างต่ำไม่น้อยกว่า 3 วัน - รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
52.19 65.27

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (3) อบรมให้ความรู้ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเล่นกระโดดเชือก (4) ดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยกระโดดเชือก (5) ประเมินการมาออกกำลังกายด้วยการเล่นกระโดเชือกของเด็กนักเรียน (6) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกระโดดเชือกหรรษา ชีวาปลอดภัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2567-L5179-02-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรอเซ็ด เบ็นแหละแหนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด