กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ”

โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์

ที่อยู่ โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-2-020 เลขที่ข้อตกลง 011/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1501-2-020 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด หรือไม่ตั้งใจให้เกิดขึ้น เป็นผลต่อความเสียหายแก่ทรัพย์สินและก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและจิตใจที่อาจทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตได้ด้วย สามารถจำแนกได้ออกเป็นหลายประเภท อาทิเช่น อุบัติเหตุในเคหะสถาน อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ อุบัติเหตุจากสาธารณสถาน อุบัติเหตุจากธรรมชาติ และอุบัติเหตุจากการจราจร ทำให้ปัญหาอุบัติเหตุเป็นปัญหาใหญ่ในสังคมไทยที่ควรหาสาเหตุและควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ได้มีการสำรวจอัตราการเสียชีวิตของคนไทย พบว่าสาเหตุที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตสูงสุด 3 อันดับ หนึ่งในสาเหตุสำคัญสามอันดับคือ การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจากการจราจร รองจากโรคมะเร็งและโรคหัวใจ ซึ่งการเกิดอุบัติเหตุนี้ได้ก่อให้เกิดความสูญเสียในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจซึ่งส่งผลต่อทั้งรัฐบาล เอกชน และส่วนบุคคล ด้านสังคมและกำลังคนจากการสูญเสียชีวิต รวมทั้งความพิการจากการเกิดอุบัติเหตุซึ่งถือได้ว่าเป็นการขาดกำลังสำคัญของชาติ ด้านสุขภาพอนามัยและความสูญเสียทางด้านจิตใจที่ได้รับผลกระทบมาจากอุบัติเหตุ จากสถิติการเกิด อุบัติเหตุบนท้องถนนที่ผ่านมา พบว่า เกิดขึ้นบริเวณทางข้าม (ทางม้าลาย) อยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเกิดจากความประมาทของผู้ใช้รถ ใช้ถนน การไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร หรือสภาพผิวจราจรบนท้องถนน ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน โดยเฉพาะอุบัติเหตุทางถนนที่เกิดกับคนเดินเท้า นักเรียน/นักศึกษา ผู้ปกครอง เป็นต้น โดยพบว่ากลุ่มที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากที่สุดยังอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 5-14 ปี และเยาวชนอายุ 15-29 ปี และส่วนใหญ่เกิดจากรถจักรยานยนต์ สถานการณ์โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ มีนักเรียน จำนวน 274 คน แยกเป็น นักเรียนชาย จำนวน 169 คน นักเรียนหญิง จำนวน 105 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 20 คน จากข้อมูลสถิติพบปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนของนักเรียน บุคลากรและคนในชุมชน มีผู้ที่ประสบอุบัติเหตุและได้รับบาดเจ็บเกิดขึ้นบ่อยครั้ง โดยส่งผลกระทบในด้านสุขภาพของประชากรดังนี้ ประชากรได้รับบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งภายหลังการเกิดอุบัติเหตุจะเกิดภาวะเครียดสะสม ในกรณีบางรายที่ไม่สามารถดำเนินชีวิตเช่นเดิมได้ และทำให้ผู้ประสบอุบัติเหตุหรือคู่กรณีจำเป็นต้องขาดเรียนหรือหยุดทำงาน ซึ่งในภาวะนี้อาจส่งผลต่อการก่อโจรกรรมหรืออาชญากรรมตามมา อีกทั้งยังส่งผลกระทบในด้านเศรษฐกิจของผู้ประสบอุบัติเหตุและคู่กรณี เช่น ผู้ประสบอุบัติเหตุไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ทำให้ไม่มีรายได้เข้ามา จึงส่งผลกระทบไปยังค่าใช้จ่ายในการรักษาและค่าใช้จ่ายต่างๆ ต่อคู่กรณี ทั้งนี้ ทำให้เกิดการกู้ยืมเงิน ทั้งในระบบและนอกระบบ ในสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมเช่นกัน การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนไม่เพียงแค่ผู้ประสบภัยหรือคู่กรณีเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบ แต่ยังส่งผลกระทบต่อบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมใกล้ที่เกิดเหตุเกิดความเสียหายจึงนำไปสู่การไกล่เกลี่ย โดยที่ต้องหาบุคคลอื่นมาไกล่เกลี่ย อาทิเช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ตำรวจหรือบุคคลที่สามารถมาไกล่เกลี่ยได้เพื่อคลี่ปัญหาที่เกิดขึ้น อุบัติเหตุบนท้องถนนที่เกิดขึ้นของนักเรียน บุคลากร และคนในชุมชน มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการใช้รถบนถนน ดังนี้ ประชากรส่วนมากอายุยังน้อยไม่มีใบขับขี่ ทำให้ไม่มีความรู้ในเรื่องกฎจราจรการใช้ถนน จึงมีการขับรถย้อนศร ขับรถเร่งรีบฝ่าไฟแดง และแว๊นกันเป็นกลุ่ม ที่สำคัญประชากรไม่มีความตระหนักในความปลอดภัยการใช้ถนน คือ ไม่สวมหมวกกันน็อก เลี้ยวทันทีไม่เปิดไฟเลี้ยว ประมาท เล่นโทรศัพท์ในขณะที่กำลังขับรถจักรยานยนต์ กระโปรงเข้าล้อ ง่วงแล้วขับ ทำให้หลับใน และมีการขับรถแซงในเขตห้ามแซง ทั้งนี้ยังมีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ถนนครุคระเป็นหลุม/บ่อ ถนนลื่น ความไม่พร้อมของรถจักรยานยนต์ จอดรถทางโค้ง และรถบรรทุกทรายที่ขาดการปิดผ้าใบ ทำให้ทรายตกหล่นบนท้องถนน หรือเข้าตาผู้ขับขี่บนท้องถนน ทำให้การมองและการขับรถบนท้องถนนเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ การเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวทำให้เกิดความเสียหายต่อตัวบุคคลเอง ตลอดจนเกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดเหตุอุบัติเหตุนั้นๆ ทั้งนี้ หากเกิดการรณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจต่อประชากรเกี่ยวกับการขับขี่บนท้องถนน จะทำให้ประชากรเกิดความรู้และความเข้าใจต่อการใช้รถบนท้องถนนได้ เมื่อเกิดความรู้และความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว จะทำให้ประชากรตระหนักและเกิดความระมัดระวังต่อการใช้รถใช้ถนนได้อย่างปลอดภัย ทำให้การเกิดอุบัติเหตุลดลงได้
มติศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนนในระดับชาติได้มีข้อสั่งการให้ทุกจังหวัดในการรณรงค์เรื่องของการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ โดยให้ส่วนราชการ สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรณรงค์เรื่องของการสวมหมวกนิรภัย และให้ข้าราชการเป็นต้นแบบในการนำร่องการสวมหมวกนิรภัย ทั้งนี้ จังหวัดตรัง ได้กำหนดมาตรการองค์กรและมาตรการที่เหมาะสมกับพื้นที่ โดยให้ทุกส่วนราชการ สถานศึกษา สถานพยาบาล หน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานประกอบการ เป็นพื้นที่สวมหมวกนิรภัย 100 % พร้อมทั้งนำระบบเทคโนโลยี มาสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดจริงจังกับผู้ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่ รวมถึงกำชับให้ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงาน ผู้นำองค์กร และผู้นำชุมชน ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามกฎจราจร โดยเฉพาะการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มีการขับขี่รถจักรยานยนต์ด้วย โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ได้เห็นความสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน เพื่อส่งเสริมการจัดการสุขภาพ ความปลอดภัยด้านคน ด้านถนน และความปลอดภัยด้านรถ เพื่อลดอัตราการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนที่เกิดขึ้นกับนักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากร และคนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนจัดการสุขภาพต้นแบบลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างวินัยการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้ความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน
  3. เพื่อรณรงค์สร้างความตระหนัก การขับขี่ปลอดภัยและถูกกฎ จราจรบนท้องถนน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.การจัดตั้งคณะทำงานโครงการและวางแผน การดำเนินงาน
  2. 2.รณรงค์พฤติกรรมดีขับขี่ปลอดภัย
  3. อบรมให้ความรู้วินัยจราจรในสถานศึกษาเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้เกิดโรงเรียนจัดการสุขภาพต้นแบบลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
  2. ทำให้อัตราการบาดเจ็บและการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนนบริเวณโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างวินัยการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียนเกิดวินัยการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน
170.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการใช้ความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียนมีความปลอดภัยบนท้องถนน ลดอัตราการบาดเจ็บและการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุทางท้องถนน
170.00

 

3 เพื่อรณรงค์สร้างความตระหนัก การขับขี่ปลอดภัยและถูกกฎ จราจรบนท้องถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียนมีตระหนัก การขับขี่ปลอดภัยและถูกกฎจราจรบนท้องถนน
170.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างวินัยการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมการใช้ความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับครู บุคลากร ผู้ปกครอง และนักเรียน (3) เพื่อรณรงค์สร้างความตระหนัก การขับขี่ปลอดภัยและถูกกฎ  จราจรบนท้องถนน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การจัดตั้งคณะทำงานโครงการและวางแผน การดำเนินงาน (2) 2.รณรงค์พฤติกรรมดีขับขี่ปลอดภัย (3) อบรมให้ความรู้วินัยจราจรในสถานศึกษาเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ (4) สรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-2-020

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด