กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง ”

โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง

ที่อยู่ โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-2-021 เลขที่ข้อตกลง 012/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1501-2-021 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,427.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กเยาวชนได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายมากขึ้น โดยจะเน้นการออกกำลังกายเพื่อ สุขภาพและมีการออกกำลังกายในกิจกรรมต่างๆ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระสุขศึกษาพลศึกษาเพื่อให้ เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพตามการจัดการเรียนการสอน การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ การเคลื่อนไหวการ ออกกำลังกายการเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากลการสร้างเสริมสุขภาพสมรรถภาพทางกาย มีวินัยกฎ กติกา มีทักษะในการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 การจัดการเรียนการสอนเนื้อหาของวิชาพลศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาในการเรียนรู้พลศึกษา การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนซึ่ง เป็นสาระพื้นฐานหรือรายวิชาบังคับสาหรับนักเรียนทุกคน (100%) เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทั้ง ด้านความรู้เจตคติทักษะสมรรถภาพทางกายและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (คุณธรรมและจริยธรรม) สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ,2552)กระทรวงศึกษาธิการ (2551) กล่าวว่า สุขศึกษาพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมายเพื่อการดำรงสุขภาพการสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลครอบครัวและชุมชนให้ยั่งยืนสุขศึกษามุ่งเน้นให้นักเรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้เจตคติคุณธรรมค่านิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพควบคู่ไปด้วยกัน พลศึกษามุ่งเน้นให้นักเรียนใช้กิจกรรมการ เคลื่อนไหวการออกกำลังกายการเล่นเกมและกีฬาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคม สติปัญญารวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา (กระทรวงศึกษาธิการ,2552) พลศึกษาก็จะได้เรียนรู้ทักษะ พื้นฐานการเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนี้ 1. การเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อื่นแบบผลัดในลักษณะผสมผสานในการร่วมกิจกรรมทางกาย เช่นกิจกรรมแบบผลัดกายบริหารประกอบเพลงยืดหยุ่นขั้นพื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่องและการต่อตัวท่าง่ายๆ 2. การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุลกับการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นเกมและกีฬา 3. การเล่นกีฬาไทยกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีม เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน เปตอง ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ฟุตบอลตะกร้อวง 4. การใช้ข้อมูลด้านทักษะกลไกเพื่อปรับปรุงและเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติ กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา และ 5. การนำความรู้และหลักการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็นฐานการศึกษาหาความรู้ เปตองเป็นกีฬาที่เล่นกลางแจ้งประเภทหนึ่ง เริ่มแพร่หลายดังเช่นปัจจุบันเมื่อราว ค.ศ. 1910 โดยกลุ่มโปรวังซาล (Provoncal) ซึ่งเดิมทีเป็นการโยนลูกทรงกลม ทำด้วยไม้ลังตอกย้ำด้วยหมุดหัว ตะปู และปรับแต่งโดยช่างฝีมือ และมีการวิ่งโยนลูกดังกล่าว ต่อมาผู้เป็นแชมป์ โปรวังซาลเกิด พิการ ต้องนั่งรถเข็น แต่ยังมีความสามารถในการโยนลูกบูลแต่อยูกับที่ ดังนั้นลูกโปรวังซาลจึงถูกดัดแปลงให้เล็กลง และโยนโดยไม่ต้องวิ่ง คำว่า ่ “เปตอง” นี้ ในภาษาฝรั่งเศสหมายถึง สองเท้าคู่อยู่ กับที่ (เตชะ พุมานนท์,2556,น. 1) กีฬาเปตองกำลังเป็นกีฬาที่ได้รับความแพร่หลายในเมืองไทย โดยมีการจัดการแข่งขันทุกระดับ เช่น การ แข่งขันชิงแชมป์โลก การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ การแข่งขันกีฬากองทัพไทยการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย การแข่งขันกีฬาในหน่วยงานรัฐบาลและวิสาหกิจการแข่งขันกีฬานักเรียนโรงเรียนสาธิตและในปี พ.ศ. 2536 ประเทศ ไทยได้ส่งนักกีฬาระดับประชาชนเข้าแข่งขันชิงแชมป์โลก ที่ประเทศโมรอคโค ผลการแข่งขันปรากฏว่าเยาวชนไทยได้ อันดับที่ 4 ของการแข่งขัน และในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน เปตองชิงแชมป์โลก ประเภททีมชาย 3 คน ในระหว่างวันที่ 16-20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ณ สนามกีฬาจังหวัด เชียงใหม่ มีประเทศต่างๆเข้าร่วมการแข่งขันมากกว่า 30 ประเทศ ซึ่งยืนยันได้ว่าการแข่งขันกีฬาเปตองกำลังได้รับความ นิยมแพร่หลายได้อย่างรวดเร็วและกระจายไปยังนาๆชาติทั่วโลก (เสรี ทองเลิศ 2536 : 4) ปัจจุบันกีฬาเปตองได้พัฒนาจากเกมมาสู่กีฬาอย่างเต็มรูปแบบโดยเฉพาะในประเทศไทยจะเห็นได้ว่า กระทรวงศึกษาธิการได้บรรจุกีฬาเปตองเป็นวิชาเลือกเสรีของวิชาพลานามัย ในระดับประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษา และยังมีการจัดการแข่งขันอีกด้วย เช่น การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทุกกลุ่มอายุโดยการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพของตนเอง ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี ลดความเครียด และเกิดแกนนำสุขภาพในโรงเรียน
  3. 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน โรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคอ้วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การออกกำลังกายโดยด้วยการเล่นกีฬาเปตอง
  2. กิจกรรมการออกกำลังกายโดยกีฬาเปตอง
  3. สรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการทุกกลุ่มอายุหันมาออกกำลังกาย ด้วยการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพย่างต่อเนื่อง
  2. ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี ลดความเครียด และเกิดแกนนำสุขภาพในชุมชน
  3. สามารถลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน โรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมองและโรคอ้วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทุกกลุ่มอายุโดยการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
30.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพของตนเอง ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี ลดความเครียด และเกิดแกนนำสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพของตนเอง ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสุขภาพจิตที่ดี ลดความเครียด และเกิดแกนนำสุขภาพในโรงเรียน
30.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน โรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : สามารถลดการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทุกกลุ่มอายุโดยการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการดูแลสุขภาพของตนเอง ทำให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี ลดความเครียด และเกิดแกนนำสุขภาพในโรงเรียน (3) 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน โรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคอ้วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การออกกำลังกายโดยด้วยการเล่นกีฬาเปตอง (2) กิจกรรมการออกกำลังกายโดยกีฬาเปตอง (3) สรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาเปตอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1501-2-021

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนวัดขุนสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด