โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางราตรี จรูญศักดิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
มกราคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้นต่างๆ ที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน ๕ อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง โรคไขมันอุดตัน ในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ผู้ป่วยส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ ทางกลุ่มกะพังสุรินทร์ชวนเต้น จึงจัดทำโครงการ เติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย โดยการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย และวิธีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนมีความตระหนักและตื่นตัว เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และมีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แล้วยังเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถควบคุมโรคและลดอัตราการเจ็บป่วยลงได้
๒. ประชาชนที่เข้ากิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเต้นแอโรบิค
๓. เกิดกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเต้นประกอบจังหวะด้วยดนตรีขึ้นในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางชุมชนกะพังสุรินทร์ ได้พิจารณาเห็นว่าสมาชิกในชุมชนยังขาดความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกาย จึงได้กำหนดกิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกก่อนปฏิบัติจริง ซึ่งการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและถูกวิธีจะช่วยให้มวลกล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยป้องกันการลดลงของมวลกล้ามเนื้อ โดยบอกวิธีการออกกำลังกายหรือเต้นแอโรบิคอย่างไรไม่ให้ร่างกายบาดเจ็บ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับอายุ ช่วงวัย และเวลา และก่อน-หลังการออกกำลังกายควรทำอย่างไร ทั้งนี้โครงการดังกล่าวจึงจัดให้มีการบรรยายให้ความรู้ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคก่อนปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค โดยเชิญวิทยากรจำนวน 1 ท่าน ในการให้ความรู้ ผู้เข้าร่วม จำนวน 30 คน มีการจัดทำแผ่นพับให้ความรู้เรื่องที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ประกอบด้วยท่าพื้นฐานของกิจกรรมนั้นๆ จำนวน 30 ใบ และมีการสาธิตและฝึกปฏิบัติโดยการแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่มจำนวน 1 ชั่วโมง มีวิทยากร 1 ท่าน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดทักษะ เกิดไหวพริบและฝึกสมองให้มีความคิดริเริ่ม
0
0
2. กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนกะพังสุรินทร์ ได้มีการประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว โดยได้มีการบอกกล่าวไปยังครอบครัวต่างๆ แจ้งให้สมาชิกในครอบครัวและครัวเรือนใกล้เคียงได้ทราบ และมีการจัดตั้งกลุ่มไลน์ เพื่อเชิญชวนสมาชิกมาเข้าร่วมโครงการ โดยเฉพาะวันเสาร์ ได้มีสมาชิกที่หยุดเรียนและไม่ได้ทำงานประจำ ได้มาเข้าร่วมกิจกรรมเต้นด้วย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค กำหนดให้เต้นสัปดาห์ละ 3 วัน โดยเต้นครั้งละ 1 ชั่งโมง รวม 36 ครั้ง 36 ชั่วโมง พบว่ามีสมาชิกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (2) กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (3) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (4) กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางราตรี จรูญศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางราตรี จรูญศักดิ์
มกราคม 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้นต่างๆ ที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน ๕ อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง โรคไขมันอุดตัน ในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ผู้ป่วยส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ ทางกลุ่มกะพังสุรินทร์ชวนเต้น จึงจัดทำโครงการ เติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย โดยการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย และวิธีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนมีความตระหนักและตื่นตัว เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และมีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แล้วยังเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
- กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถควบคุมโรคและลดอัตราการเจ็บป่วยลงได้ ๒. ประชาชนที่เข้ากิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเต้นแอโรบิค ๓. เกิดกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเต้นประกอบจังหวะด้วยดนตรีขึ้นในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางชุมชนกะพังสุรินทร์ ได้พิจารณาเห็นว่าสมาชิกในชุมชนยังขาดความรู้ที่ถูกต้องในการออกกำลังกาย จึงได้กำหนดกิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกก่อนปฏิบัติจริง ซึ่งการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและถูกวิธีจะช่วยให้มวลกล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยป้องกันการลดลงของมวลกล้ามเนื้อ โดยบอกวิธีการออกกำลังกายหรือเต้นแอโรบิคอย่างไรไม่ให้ร่างกายบาดเจ็บ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับอายุ ช่วงวัย และเวลา และก่อน-หลังการออกกำลังกายควรทำอย่างไร ทั้งนี้โครงการดังกล่าวจึงจัดให้มีการบรรยายให้ความรู้ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคก่อนปฏิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค โดยเชิญวิทยากรจำนวน 1 ท่าน ในการให้ความรู้ ผู้เข้าร่วม จำนวน 30 คน มีการจัดทำแผ่นพับให้ความรู้เรื่องที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ประกอบด้วยท่าพื้นฐานของกิจกรรมนั้นๆ จำนวน 30 ใบ และมีการสาธิตและฝึกปฏิบัติโดยการแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่มจำนวน 1 ชั่วโมง มีวิทยากร 1 ท่าน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดทักษะ เกิดไหวพริบและฝึกสมองให้มีความคิดริเริ่ม
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำชุมชนกะพังสุรินทร์ ได้มีการประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว โดยได้มีการบอกกล่าวไปยังครอบครัวต่างๆ แจ้งให้สมาชิกในครอบครัวและครัวเรือนใกล้เคียงได้ทราบ และมีการจัดตั้งกลุ่มไลน์ เพื่อเชิญชวนสมาชิกมาเข้าร่วมโครงการ โดยเฉพาะวันเสาร์ ได้มีสมาชิกที่หยุดเรียนและไม่ได้ทำงานประจำ ได้มาเข้าร่วมกิจกรรมเต้นด้วย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค กำหนดให้เต้นสัปดาห์ละ 3 วัน โดยเต้นครั้งละ 1 ชั่งโมง รวม 36 ครั้ง 36 ชั่วโมง พบว่ามีสมาชิกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (2) กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (3) บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค (4) กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางราตรี จรูญศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......