กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee) ”

ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุไร ศรีทอง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee)

ที่อยู่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4118-02-04 เลขที่ข้อตกลง 009/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคีรีเขต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4118-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คีรีเขต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมสุขภาพจิตเผย ช่วง ๓ ปีมีผู้ติดยาที่มีอาการทางจิตเข้ารักษาปีละเกือบ ๔ พันรายต่อไป แนะหากพบบุคคลที่มีความผิดปกติ ทางจิตที่มีภาวะเป็นอันตราย หรือ มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือเจ้าหน้าที่ฝ่าย ปกครองนำส่งบุคคลดังกล่าวไปยังโรงพยาบาลหรือสถานบำบัดรักษาได้ เพื่อผลดีต่อตัวของเขาเอง ขณะเดียวกันก็เป็นการป้องกันความปลอดภัย ให้กับสังคมอีกด้วยกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า การติดสารเสพติดเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่เกิดขึ้นทีละน้อย จากการใช้ยาเป็นครั้งคราวสู่การใช้ถี่ ขึ้น จนใช้ทุกวัน วันละหลายครั้ง ซึ่งเมื่อใช้บ่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จะนำไปสู่ภาวะ "สมองติดยา” โดยสารในตัวยาจะเข้าไปทำลายสมองส่วนคิด ทำ ให้การใช้ความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลเสียไป สมองส่วนอยากจึงเข้ามามีอิทธิพลเหนือสมองส่วนคิด โดยเฉพาะช่วงอยากสารเสพติด ทำให้ผู้เสพติด ทำอะไรตามใจตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล ผู้ที่ใช้สารเสพติดจึงมักแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมออกมา เช่น อารมณ์ก้าวร้าว หงุดหงิด ไม่ สามารถควบคุมตัวเองได้ ขาดความยับยั้งชั่งใจ นำไปสู่ความรุนแรงในสังคมที่พบเห็นอยู่บ่อยๆ และหากติดตามผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดไปนานๆ จะพบว่า ส่วนใหญ่มักมีอาการทางจิตเวชร่วมด้วย เช่น เป็นโรคจิตหวาดระแวง ประสาทหลอนเรื้อรัง มีภาวะสมองเสื่อมขณะเดียวกัน ผู้ป่วยทางจิต ที่อยู่ระหว่างการรักษา แล้วไปกินเหล้า สูบบุหรี่ เสพยาบ้า หรือ กัญชา ซึ่งเป็นข้อห้ามสำคัญที่ไม่ควรทำในระหว่าง การรักษา ที่นอกจากจะทำให้ผลการรักษาไม่ดีแล้ว ยังทำให้การกำเริบของโรคเร็วขึ้น เพราะสารเสพติดเหล่านี้ จะไปมีปฏิกิริยากับยาที่รักษาอยู่ ทำให้ยาหมดฤทธิ์ ไม่เพียงพอในการควบคุมอาการ อาการจึงกำเริบขึ้น นำไปสู่ความรุนแรงในสังคมเช่นเดียวกัน จึงต้องได้รับการดูแลรักษาที่ ชนิด จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดถูกต้องเหมาะสมอย่างทันท่วงที การไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติดทุก ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ หากพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตที่มีภาวะเป็นอันตราย หรือ มีความจำเป็นต้องได้รับการ บำบัดรักษา ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองนำส่งบุคคลดังกล่าวไปยังโรงพยาบาลหรือสถาน บำบัดรักษาได้ เพื่อผลดีต่อตัวของเขาเอง ขณะเดียวกันก็เป็นการป้องกันความปลอดภัยให้กับสังคมอีกด้วย ส่วนกรณีสะเทือนขวัญที่เกิดขึ้น ณ จ.บึงกาฬ เบื้องต้น ทีม MCATT รพ.ศรีวิลัย รพ. บึงกาฬ ร่วมกับแกนนำชุมชน ลงพื้นที่เยี่ยมครอบครัวผู้เสียชีวิต พูดคุยและเฝ้าระวังปัญหา สุขภาพจิตครอบครัวผู้เสียชีวิตและคนในชุมชนแล้ว ทั้งนี้ จากรายงานของระบบติดตามและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด รายงานการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ที่มีอาการทางจิต กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในช่วง ๓ ปีที่ผ่านมา (๒๕๕๖-๒๕๕๘) มีผู้เข้ารับการรักษาใน รพ.สังกัดกรมสุขภาพจิตทั่วประเทศ เกือบ ๔ พันราย ต่อปี นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่ตำบลคีรีเขต ยังพบผู้ป่วยจิตเวชจากการใช้ยาเสพติด ๙ รายซึ่งกระจายตามหมู่บ้านทั้ง ๗ หมู่บ้านทั้งที่แสดงอาการ ชัดเจนและยังไม่แสดงอาการและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเมื่อไม่ได้รับการรักษาและส่งต่อที่ถูกต้องและทันเวลา จำทำให้ส่งผล กระทบต่อบุคคลในครัวเรือน และเยาวชนในระแวกบ้าน จากความสำคัญข้างต้นดังกล่าวจะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งนั้นเกิดจาการที่คนในชุมชนไม่มีความรู้ในเรื่องการเฝ้าระวังการคัดแยกผู้ป่วยใน ประเภทต่าง ๆ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต รวมไปถึงแนวทางการส่งต่อที่ไม่ทำให้ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกายและคนใน ครอบครัวไม่ได้รับการกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจจึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังคนใข้จิตเวชจาก การใช้ยาเสพติด (Kit Dee) ต.คีรีเขต อ.ธารโต จ.ยะลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีองค์ความรู้ในเรื่องการคัดแยกผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อสร้างแนวทางการปฎิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมและไม่ขัดต่อระเบียบและข้อกฎหมายที่สามารถนำไปใช้ในหมู่บ้านและชุมชน
  3. 3. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชทั้งที่มีอาการและไม่แสดงอาการได้รับการส่งต่อรักษาได้ทันเวลา
  4. 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เข้ารับการอบรมมีองค์ความรู้ในเรื่องการให้คำปรึกษาเบื้องต้นสำหรับผู้เริ่มใช้ยาเสพติดและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีองค์ความรู้ในเรื่องการคัดแยกผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อสร้างแนวทางการปฎิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมและไม่ขัดต่อระเบียบและข้อกฎหมายที่สามารถนำไปใช้ในหมู่บ้านและชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชทั้งที่มีอาการและไม่แสดงอาการได้รับการส่งต่อรักษาได้ทันเวลา
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เข้ารับการอบรมมีองค์ความรู้ในเรื่องการให้คำปรึกษาเบื้องต้นสำหรับผู้เริ่มใช้ยาเสพติดและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีองค์ความรู้ในเรื่องการคัดแยกผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อสร้างแนวทางการปฎิบัติที่ถูกต้องเหมาะสมและไม่ขัดต่อระเบียบและข้อกฎหมายที่สามารถนำไปใช้ในหมู่บ้านและชุมชน (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชทั้งที่มีอาการและไม่แสดงอาการได้รับการส่งต่อรักษาได้ทันเวลา (4) 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เข้ารับการอบรมมีองค์ความรู้ในเรื่องการให้คำปรึกษาเบื้องต้นสำหรับผู้เริ่มใช้ยาเสพติดและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังในชุมชน (Kit Dee) จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 67-L4118-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอุไร ศรีทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด