กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1523-3-21 เลขที่ข้อตกลง 20/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1523-3-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีพัฒนาการที่สมวัยนั้นถือได้ว่าเป็นคุณภาพชีวิตประชากรอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประชากรวัยเด็กช่วงอายุ ๒ - ๓ ปีนั้น ถือได้ว่าเป็นช่วงวัยแห่งการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยเรียน อย่างเป็นทางการตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ โดยเด็กในช่วงวัยดังกล่าว ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยง ดูที่ดี โดยเริ่มต้นจากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึง ความสำคัญในการกระตุ้นส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กโดยครูผู้ดูแลเด็กจึงมีบทบาทสำคัญ ที่ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าพ่อแม่/ผู้ปกครองในการเลี้ยงดูกระตุ้น ส่งเสริมให้เด็กเล็กที่พ่อแม่/ผู้ปกครองนำมาฝากไว้ มีพัฒนาการสมวัย อย่างไรก็ตามจากการเลี้ยงดูและการ เอาใจใส่ที่แตกต่างกัน เช่น ขาดสารอาหาร สุขภาพไม่สมบูรณ์ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ขาดสิ่งกระตุ้น พัฒนาการ ขาดการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ขาดการกระตุ้นการตอบสนอง และอยู่ในสภาพที่ไม่ปลอดภัย ทำให้เด็กเล็กจำนวนหนึ่งมีพัฒนาการต่ำกว่าระดับศักยภาพปกติ การประเมินติดตามพัฒนาการเป็นประจำ จะทำให้พบเด็กเล็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เร็วขึ้น และดำเนินการส่งต่อยังคลีนิคกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย ต่อไป กครองนามาฝาก ซึ่งในปี ๒๕๖๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ได้ทำการคัดกรองและประเมินพัฒนาการ เด็กนักเรียนตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งหมด จำนวน ๕๖ คน มีนักเรียนผ่าน การประเมิน จำนวน ๕๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๒๑ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด และไม่ผ่านการประเมินการ จำนวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๗๙ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด ปี ๒๕๖๔ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ทำการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็ก นักเรียน์ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งหมด จำนวน ๕๐ คน มีนักเรียนผ่านการระเมิน จำนวน ๔๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๐๐ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด และไม่ผ่าน การประเมิน จำนวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๐๐ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด ปี ๒๕๖๕ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ทำการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็ก นักเรียนตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งหมด จำนวน ๔๐ คน มีนักเรียนผ่านการ ประเมิน จำนวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๐๐ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด และไม่ผ่านการประเมิน จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๐๐ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด และในปี ๒๕๖๖ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ทำการคัดกรองและประเมินพัฒนาการ เด็กนักเรียนตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งหมด จำนวน ๔๐ คน มีนักเรียนผ่าน การประเมิน จำนวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๕๐ ของเด็กนักเรียนทั้งหมด และไม่ผ่าน การประเมิน จำนวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๕๐ของเด็กนักเรียนทั้งหมด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร จึงเห็นว่ากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นได้เน้น ให้มีโครงการบูรณาการด้านอาหาร โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัย ผู้จัดทำโครงการ จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัยโดยนำการปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ร่วมกับแบบประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รวมถึงผลกระทบจากพัฒนาการล่าช้า และส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการตามวัย มีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงต่อไปได้ด้วยดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อคัดกรองพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ และการรับรู้ปัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
  2. กิจกรรมที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกิจกรรมกลุ่มย่อย
  3. กิจกรรมที่ 3 การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติ
  4. กิจกรรมที่ 4 การประเมินพัฒนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครู และผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น 2.ครู และผู้ปกครองรับรู้ผลกระทบพัฒนาการล่าช้า และตระหนักและให้ความสำคัญถึงการส่งเสริม
      พัฒนาการเด็กปฐมวัยมากขึ้น 3.ครูและผู้ปกครองรับรู้วิธีการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติได้อย่างยั่งยืน 4.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อคัดกรองพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายรับรู้วิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๓) ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยได้รับการส่งต่อดูแลที่ถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (๑) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (๒) เพื่อให้ครู และผู้ปกครองรับรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เพื่อคัดกรองพัฒนาการเบื้องต้นของเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้ และการรับรู้ปัญหา โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (2) กิจกรรมที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกิจกรรมกลุ่มย่อย (3) กิจกรรมที่ 3 การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติ (4) กิจกรรมที่ 4  การประเมินพัฒนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2-3ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1523-3-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด