โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายฮิบรอเฮ็ง คาเร็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3050-02-03 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3050-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำ ให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจานวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจานวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย
และด้วย เดือนมกราคม 2567 ถึง เดือน กรกฎาคม 2567 ในอำเภอยะหริ่งและตำบลหนองแรตเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในพื้นที่ และมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในตำบลหนองแรตมีผู้ป่วยประจำเดือน กรกฎาคม จำนวน 5 ราย ติดต่อกันทุกสปดาห์และมีแนวโน้มผู้ป่วยจะเพิ่มอีก ในการนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลหนองแรต ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ “โรคไข้เลือดออก” ก่อนฤดูการระบาด และช่วงเกิดโรคระบาด เพื่อลดโอกาสการสัมผัสระหว่างมนุษย์กับแมลงพาหะนาโรค ซึ่งเป็น การลดความเสี่ยงของประชาชนในชุมชนต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต
- 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูอนามัยโรงเรียน
3
ผู้นำชุมชน
7
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรแสนคน
๒. ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓.ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) ค่าBreteau Index น้อยกว่าหรือเท่า 50 (BI < 50) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของชุมชน และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10) ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน วัด ศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯลฯควรมีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
๔. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
๕. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
๖. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT (SURVEILLANCE AND RAPID RESPONSE TEAM) ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต
วันที่ 22 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีเครือข่าย ทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ในชุมชน
0
0
2. 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน
วันที่ 23 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน โดยรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โรงเรียน มัสยิด สถานที่ราชาการอื่นๆ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน แกนนำนักเรียน และทีม SRRT ในเขตตำบลหนองแรต
และจัดทำสื่อแผ่นพับ เพื่อประชาสัมพันธ์งานควบคุมโรคผ่านสื่อต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI สำรวจจำนวนบ้าน 120 หลัง พบลูกน้ำจำนวน11 หลัง คิดเป็นร้อยละ9.16 )และค่า CI ในชุมชน สุ่มสำรวจจำนวนภาชนะ 360 ภาชนะพบลูกน้ำจำนวน 35 ภาชนะร้อยละ 9.72
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
80.00
50.00
2
2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 2 . เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10
25.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ครูอนามัยโรงเรียน
3
ผู้นำชุมชน
7
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
10
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต (2) 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน (3) กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3050-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฮิบรอเฮ็ง คาเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายฮิบรอเฮ็ง คาเร็ง
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3050-02-03 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3050-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองแรต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำ ให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจานวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจานวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย
และด้วย เดือนมกราคม 2567 ถึง เดือน กรกฎาคม 2567 ในอำเภอยะหริ่งและตำบลหนองแรตเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในพื้นที่ และมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในตำบลหนองแรตมีผู้ป่วยประจำเดือน กรกฎาคม จำนวน 5 ราย ติดต่อกันทุกสปดาห์และมีแนวโน้มผู้ป่วยจะเพิ่มอีก ในการนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลหนองแรต ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ “โรคไข้เลือดออก” ก่อนฤดูการระบาด และช่วงเกิดโรคระบาด เพื่อลดโอกาสการสัมผัสระหว่างมนุษย์กับแมลงพาหะนาโรค ซึ่งเป็น การลดความเสี่ยงของประชาชนในชุมชนต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต
- 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ครูอนามัยโรงเรียน | 3 | |
ผู้นำชุมชน | 7 | |
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | 10 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรแสนคน
๒. ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๓.ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) ค่าBreteau Index น้อยกว่าหรือเท่า 50 (BI < 50) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของชุมชน และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10) ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน วัด ศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯลฯควรมีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
๔. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
๕. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
๖. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT (SURVEILLANCE AND RAPID RESPONSE TEAM) ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีเครือข่าย ทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ในชุมชน
|
0 | 0 |
2. 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน โดยรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โรงเรียน มัสยิด สถานที่ราชาการอื่นๆ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน แกนนำนักเรียน และทีม SRRT ในเขตตำบลหนองแรต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI สำรวจจำนวนบ้าน 120 หลัง พบลูกน้ำจำนวน11 หลัง คิดเป็นร้อยละ9.16 )และค่า CI ในชุมชน สุ่มสำรวจจำนวนภาชนะ 360 ภาชนะพบลูกน้ำจำนวน 35 ภาชนะร้อยละ 9.72
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ) |
80.00 | 50.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 2 . เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10 |
25.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ครูอนามัยโรงเรียน | 3 | ||
ผู้นำชุมชน | 7 | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | 10 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำนักเรียน ครูอนามัยโรงเรียน แกนำชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายควบคุมโรคเข้มแข็ง ในเขตตำบลหนองแรต (2) 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ รณรงค์ไข้เลือดออกในชุมชน (3) กิจกรรมควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L3050-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฮิบรอเฮ็ง คาเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......