กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานา มะนอ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 17/2567 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 17/2567 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพดี ปัญหาด้านสุขภาพที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์ได้แก่ ภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย สตรีตั้งครรภ์จึงควรได้รับการประเมินภาวะเสี่ยง และได้รับการดูแลตามระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ การนัดตรวจ การคัดกรองปัญหาสุขภาพที่ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ ให้การรักษาให้การแนะนำ ให้ตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฉุกเฉินระหว่างตั้งครรภ์ ปัจจุบันข้อมูลอนามัยแม่และเด็กของตำบลกรงปินัง ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และแม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจ ของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด ทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรง และมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งสาเหตุเกิดอาจเกิดจากหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด หญิงตั้งครรภ์ดูแลตนเองในเรื่องโภชนาการอาหารไม่ดีนักในขณะตั้งครรภ์ หรือมีปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งมีสาเหตุมาจากการคลอดก่อนกำหนด การมีภาวะทุพโภชนาการของมารดา และปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อยและไม่ได้คุมกำเนิดและปัญหาการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ มากกว่า 12 สัปดาห์ และการฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จากสภาพปัญหาการดำเนินงานจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา
หนังสือจังหวัดยะลา ด่วนที่สุด ที่ ยล 0023.2/ว 509 ลงวันที่ 18 มกราคม 2566 แจ้งนโยบายของกระทรวงมหาดไทย โดยแจ้งว่า คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร ได้ดำเนินโครงกาสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เพื่อลดอุบัติการณ์การคลอดก่อนกำหนด จึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับทราบนโยบายและซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติของกระทรวงมหาดไทยเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด โดยองค์การบริหารส่วนตำบลกรงปินัง มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ตามมาตรา 67 (6) และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 หมวด 2 มาตรา 16 (10) และ (19) องค์การบริหารส่วนตำบลกรงปินังได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ จึงได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และให้ทารกที่คลอดมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็น ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองก่อนการตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 4.เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองก่อนการตั้งครรภ์ 3.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 4.ภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองก่อนการตั้งครรภ์ 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 4.เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองก่อนการตั้งครรภ์  3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 4.เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 17/2567

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมารียานา มะนอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด