กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 20/2567 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2567 ถึง 7 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 20/2567 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 สิงหาคม 2567 - 7 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค มีระบบข้อมูลที่ทันสมัย มีการคาดการณ์สถานการณ์โรคที่อาจเกิดการระบาด และโรคที่ต้องเฝ้าระวังจากข้อมูลการระบาดและปัจจัยแวดล้อมที่เกิดขึ้น สามารถพยากรณ์โรคได้ และกำหนดมาตรการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างเหมาะสม โดยในปีนี้จะมีการเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากมีการคาดการณ์ไว้ว่า ในปี 2567 นี้ อาจพบการระบาดของโรค 3 โรค ดังนี้     1) โรคโควิด 19 ถือเป็นโรคที่ต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีการกลายพันธุ์อย่างต่อเนื่อง แม้ประชาชนส่วนใหญ่จะมีภูมิคุ้มกัน สามารถลดความรุนแรงเมื่อติดเชื้อ แต่ต้องเฝ้าระวังในกลุ่มเปราะบาง 608 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวายเรื้อรัง โรคอ้วน มะเร็ง และหญิงตั้งครรภ์ ที่ต้องได้รับวัคซีนอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง หากไปในสถานที่เสี่ยงให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ โดยปี 2566 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยทั้งหมด 652,868 ราย เสียชีวิต 848 ราย จึงได้มีการคาดการณ์ว่าปี 2567 จะพบผู้ป่วยประมาณ 649,520 ราย 2) โรคไข้หวัดใหญ่ เป็นโรคระบบทางเดินหายใจเช่นเดียวกันกับ      โรคโควิด 19 มีความรุนแรงสามารถทำให้เสียชีวิตได้เช่นกัน ซึ่งประชาชนสามารถเข้ารับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนโควิดได้พร้อมกันปีละ 1 ครั้ง ข้อมูลสถานการณ์ในปี 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ 460,325 ราย เสียชีวิต 29 ราย และคาดการณ์ว่าในปี 2567 จะพบผู้ป่วยประมาณ 346,110 ราย              และ 3) โรคไข้เลือดออก มียุงลายเป็นพาหะ โดยในปี 2566 พบผู้ป่วยทั้งหมด 156,097 ราย เสียชีวิต 187 ราย และคาดการณ์ว่าในปี 2567 จะพบผู้ป่วยประมาณ 276,945 ราย เสียชีวิต 280 ราย ดังนั้นประชาชนทุกคนต้องช่วยกันเก็บบ้าน เก็บขยะ เก็บภาชนะให้สะอาดเรียบร้อย ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย นอกจากนี้โรคที่คาดการณ์ว่าจะเกิดการระบาด กรมควบคุมโรคยังคงเฝ้าระวังโรคที่มีโอกาสเกิดการระบาดและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นโรคตามฤดูกาล หรือโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะกลุ่ม ประกอบด้วย 12 โรค ดังนี้ 1.โรคมือเท้าปาก 2.โรคหัด 3.โรคฝีดาษวานร 4.โรคเมลิออยโดสิส (ไข้ดิน)      5.โรคไข้ฉี่หนู 6.โรคไข้หูดับ 7.โรคไวรัสซิกา 8.โรคชิคุนกุนยา (ไข้ปวดข้อยุงลาย) 9.โรคซิฟิลิส 10.โรคหนองใน 11.โรคเอดส์ และ 12.โรควัณโรค
สถานการณ์โรคติดต่อตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 – 2566 มีผู้ป่วย      โรคโควิด19 รวมทั้งหมด 1,372 ราย ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ รวมทั้งหมด 1,637 ราย และผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รวมทั้งหมด 71 ราย นอกจากนี้ยังพบว่าความคลอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ  (TB case detection) ยังไม่บรรลุเป้าหมายโดยภาพรวม (ร้อยละ ๗๐) ซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้คลอบคลุม ซึ่งกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการคัดกรองวัณโรคได้แก่ 1.ผู้สัมผัสวัณโรคร่วมบ้าน 2.ผู้ป่วย HIV 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล/HbA1C>7 4.ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปมีโรคปอด 5.ผู้ใช้สารเสพติด/ติดสุราเรื้องรัง ซึ่งกลุ่มสงสัยทั้งหมดได้การคัดกรองเพียงร้อยละ 30 ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกรงปินัง ได้ดำเนินการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ในฐานะมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินงานให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการดูแลด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชน ทั้งที่บ้านและในชุมชน ให้สามารถเข้าถึงบริการและได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง ได้ตระหนักถึงความเดือดร้อนของประชาชน อันได้แก่ การเกิดอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพ การป้องกันโรคต่างๆจึงได้จัดทำโครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567 เพื่อทำให้ผู้ที่มีอาการสงสัยป่วยด้วยโรคติดต่อได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่งเป็นการตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อและลดอัตราการเสียชีวิตจากการป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เครือข่ายสุขภาพชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันควบคุมโรคโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ  ในพื้นที่และสามารถให้มีการดูแลแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
    2. ประชาชนสามารถป้องกันโรคควบคุมโรคโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ด้วยตนเอง
    3. ประชาชนมีความตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคควบคุมโรคโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ    ในพื้นที่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 20/2567

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมารีแย สะอะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด