กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ ”
ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซานะ อูมา




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3049-3-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3049-3-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคอาหารอย่างพอเพียงและถูกต้องตามหลักโภชนาการ นับเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องตระหนัก และดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจัง เพื่อการมีสุขภาพที่ดี แต่ทุกวันนี้ประเทศไทยกลับมีปัญหาด้านโภชนาการสมวัยเพิ่มมากขึ้น เด็กไทยในวันนี้น่าห่วง เพราะต้องเผชิญปัญหาอ้วน เตี้ย ผอม ส่งผลโง่ เรียนรู้ช้า ภูมิต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ซึ่งสาเหตุมาจากพฤติกรรมโภชนาการไม่ถูกต้อง เด็กที่มีภาวะอ้วน เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อ ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น สาเหตุสำคัญส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมโกชนาการไม่ถุกต้องซึ่งจากการสำรวจโภชนาการเด็กไทยพบว่า เด็กกินผักเพียงวันละ ๑ ๕ ข้อนโต๊ะ ทั้งที่ควรกินไม่ต่ำกว่าวันละ12 ช้อนโต๊ะ กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่ม รสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ ส่งผลให้เด็กไทยมีปัญหาการทั้งชาดและเกิน โรคผอมเกินไป ขาดสารอาหาร และโรคอ้วนหรือภาวะโภชนาการเกินในเด็กมีผลกระทบต่อทั้งพัฒนาการทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ปัจจัยสำคัญของภาวะโภชนาการขาดและเกิน คือ การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนและมีปรีมาณไม่เหมาะสม ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้เด็กวัยเรียนมีแนวโน้มเป็นโรคขาดสารอาหารหรือ โรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจาก ๑ ) เด็กกินไม่เป็น เพราะไม่มีความรู้ด้านโภชนาการ ทำให้กินไม่เพียงพอ กินอาหารไม่ครบ ๕ หมูใน ๑ วัน ชอบกินอาหารฟาสฟูด ที่มีรสหวานจัด มันจัด และเค็มจัด กินผักและผลไม้น้อยกว่าสัดส่วนมาตรฐานที่กำหนด ๒) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีถีชีวิตการหาอยู่หากินของครอบครัว ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลใจใส่ในเรื่องอาหารการกินของเด็ก อีกทั้งประกอบอาหารเองลดลง โดยเฉพาะสภาพครอบครัวในชนบหนึ่ง ครอบครัวฟันหลอ เด็กอาศัยกับปู่ย่าตายาย ในขณะที่พ่อแม่ไปทำงานต่างถิ่น จึงปล่อยให้เด็กเลือกกินอาหารเองตามสื่อโฆษณาชวนเชื่อ เช่น จากร้านสะดวกซื้อ หรือตามตลาดนัด ๓) ผักและผลไม้บางชนิดมีราคาแพง ประกอบกับครอบครัวรายได้น้อย จึงไม่สามารถหาซื้อมาให้ลูกหลานกินเป็นประจำได้ อีกทั้งผักผลไม้ตามท้องตลาดไม่ปลอดภัยจากสารพิษ ซึ่งจากการสำรวจในปี ๒๕๕๕๕ พบผักและผลไม้สดในห้างสรรพสินค้า ตลาดสด และรถเร่ขายของตามหมู่บ้าน โดยเฉลี่ยมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างสูงกว่ามาตรฐาน EU ร้อยละ ๔๐ ๔) แหล่งซื้ออาหารสุขภาพในโรงเรียนและชุมชนมีจำนวนน้อย ส่วนใหญ่ที่พบมีการจำหน่ายสินค้าจำพวกพวกขนมกรบกรอบและน้ำอัดลมในสหกรณ์และร้านค้า ๕) เมนูอาหารกลางวันที่โรงเรียนจัดบริการให้นักเรียนที่โรงเรียนนั้นไม่ถูกหลักโภชนาการ เนื่องจากมีสารอาหารประเภทโปรตีนและผักผลไม้ไม้ไม้ไม่เพียงพอตามคำแนะนำของกองโภชนากาการ กระทรวงสาธารณสุข การที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้นั้น ส่วนหนึ่งควรจะต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจกันในระดับครอบครัวก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองถือว่าเป็นผู้ดูแลอบรมเลี้ยงดูเด็ก ผู้ประกอบอาหารหรือจัดการอาหารในบ้าน รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งมีบทบาทสำคัญที่จะสนับสนุน ผลักดันระดับครอบครัวอีกทอดหนึ่ง ดังนั้น กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการที่จะทำให้เด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๒ ศูนย์ที่สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน มีสุขภาพดี แข็งแรงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จึงได้จัดทำโครงการ "หนูน้อยวัยใส ใสใจกินผัก รักสุขภาพ" ประจำปี ๒๕๖๗ นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้
  2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และทักษะจากการลงมือปฏิบัติจริงให้ผักและผลไม้น่าทาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ิจกรรมปลูกผักและผลไม้ จัดซื้อ
  2. กิจกรรมพัฒนาเมนูผักและผลไม้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 53
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้กินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
  2. ครูและผู้ปกครองได้คิดค้นเมนูผักและผลไม้ใหม่ๆให้น่าทาทาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้
ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และทักษะจากการลงมือปฏิบัติจริงให้ผักและผลไม้น่าทาน
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ปกครอง คิดค้นเมนูผักและผลไม้ใหม่ๆให้น่าทาน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 53
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 53
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้ (2) เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และทักษะจากการลงมือปฏิบัติจริงให้ผักและผลไม้น่าทาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ิจกรรมปลูกผักและผลไม้ จัดซื้อ (2) กิจกรรมพัฒนาเมนูผักและผลไม้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3049-3-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซานะ อูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด