โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ ”
ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอนุศิษฏ์ นาศรี ,น.ส.สมจิตร โพธิ์แก้ว,น.ส.สุจินต์ ช่วยเมือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมื่นศรี
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมื่นศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,717.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมื่นศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน พบว่าประชาชนมีปัญหาสุขภาพ การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ปัญหาสำคัญคือ 1.บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2.ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุนจากผู้นำชุมชน 3.ปัญหาในเรื่องอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องมีการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก่ไขปัญหาเหล่านั้น การออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญอย่างเสม่ำเสมอจะให้ประโยชน์ทั้งต่อด้านร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความเข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราการเสี่ยงของการเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนได้ ช่วยในการเผาผลาญพลังงานของร่างกายเพิ่มขึ้น ลดการสะสมระดับของไขมันในร่างกายในเรื่องของระบบภูมิคุ้มกัน การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอประมาณ 4 ชั่วโมงหรือมากกว่านี้ต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เด็กวัยรุ่นจนโตเป็นผู้ใหญ่ จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทาน ป้องกันการเกิดสารก่อมะเร็งและเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดโลหิตขาวทำให้ลดปัญหาสุขภาพได้ ด้านจิตใจ การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสดชื่นอิ่มเอิบ อารมณ์ดี ลดความตึงเครียดและนอนหลับได้ดีและผลดีด้านยสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีนั้นประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้มากขึ้น
การรำกลองยาวเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ในการนำไปประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกาย และการรำกลองยาวยังสร้างบรรยากาศ สีสัน ความบันเทิงแก่คนรอบข้าง และมีการรำวงเป็นกิจกรรมที่เหมาะสม เพราะสามารถยกแขนก้าวขาออกท่าทางได้ตามความต้องการ รำวงทำให้ผู้คนสนุกสนาน สามัคคี กลมเกลียว สภาพจิตใจ สุขภาพร่างกายก็ดีขึ้น ในเมื่อสุขภาพคือหัวใจสำคัญที่จะทำให้ผู้คนใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การนำและวัฒนธรรมที่มีอยู่แล้วในชุมชน คือ วงกลองยาว มาประยุกต์เข้ากับการส่งเสริมสุขภาพ โครงการนี้ทำให้ผู้คนในแต่ละวัยปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ชีวิต ดูแลตัวเองด้วยการออกกำลังกาย เกิดเป็นกิจกรรมต่างๆ เกิดความตระหนักว่าการที่จะใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขเพิ่มขึ้น ซึ่งเป้าหมาย คือ การทำให้ประชาชนสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
ชมรมกองทุนสวัสการชุมชนตำบลนาหมื่นศรี จึงได้จัดโครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและเป็นรักษาสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกกลุ่มมีสุขภาพจิตและกายที่ดีขึ้น
- ชุมชนมีความรักความสามัคคี มีกิจกรรมกลุ่มได้ทำงานร่วมกัน
- มีรายได้เพิ่ม สร้างงานสร้างเงิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอนุศิษฏ์ นาศรี ,น.ส.สมจิตร โพธิ์แก้ว,น.ส.สุจินต์ ช่วยเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ ”
ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอนุศิษฏ์ นาศรี ,น.ส.สมจิตร โพธิ์แก้ว,น.ส.สุจินต์ ช่วยเมือง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมื่นศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,717.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมื่นศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน พบว่าประชาชนมีปัญหาสุขภาพ การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ปัญหาสำคัญคือ 1.บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2.ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุนจากผู้นำชุมชน 3.ปัญหาในเรื่องอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องมีการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก่ไขปัญหาเหล่านั้น การออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญอย่างเสม่ำเสมอจะให้ประโยชน์ทั้งต่อด้านร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความเข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราการเสี่ยงของการเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนได้ ช่วยในการเผาผลาญพลังงานของร่างกายเพิ่มขึ้น ลดการสะสมระดับของไขมันในร่างกายในเรื่องของระบบภูมิคุ้มกัน การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอประมาณ 4 ชั่วโมงหรือมากกว่านี้ต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เด็กวัยรุ่นจนโตเป็นผู้ใหญ่ จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทาน ป้องกันการเกิดสารก่อมะเร็งและเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดโลหิตขาวทำให้ลดปัญหาสุขภาพได้ ด้านจิตใจ การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสดชื่นอิ่มเอิบ อารมณ์ดี ลดความตึงเครียดและนอนหลับได้ดีและผลดีด้านยสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพและมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีนั้นประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้มากขึ้น
การรำกลองยาวเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ในการนำไปประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกาย และการรำกลองยาวยังสร้างบรรยากาศ สีสัน ความบันเทิงแก่คนรอบข้าง และมีการรำวงเป็นกิจกรรมที่เหมาะสม เพราะสามารถยกแขนก้าวขาออกท่าทางได้ตามความต้องการ รำวงทำให้ผู้คนสนุกสนาน สามัคคี กลมเกลียว สภาพจิตใจ สุขภาพร่างกายก็ดีขึ้น ในเมื่อสุขภาพคือหัวใจสำคัญที่จะทำให้ผู้คนใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การนำและวัฒนธรรมที่มีอยู่แล้วในชุมชน คือ วงกลองยาว มาประยุกต์เข้ากับการส่งเสริมสุขภาพ โครงการนี้ทำให้ผู้คนในแต่ละวัยปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ชีวิต ดูแลตัวเองด้วยการออกกำลังกาย เกิดเป็นกิจกรรมต่างๆ เกิดความตระหนักว่าการที่จะใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขเพิ่มขึ้น ซึ่งเป้าหมาย คือ การทำให้ประชาชนสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
ชมรมกองทุนสวัสการชุมชนตำบลนาหมื่นศรี จึงได้จัดโครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและเป็นรักษาสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกกลุ่มมีสุขภาพจิตและกายที่ดีขึ้น
- ชุมชนมีความรักความสามัคคี มีกิจกรรมกลุ่มได้ทำงานร่วมกัน
- มีรายได้เพิ่ม สร้างงานสร้างเงิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนใน 3 ช่วงวัย 2.เพื่อพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิตของคนในชุมน 3.สร้างความรัก ความสามัคคี ของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการกลองยาว 3 วัย ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอนุศิษฏ์ นาศรี ,น.ส.สมจิตร โพธิ์แก้ว,น.ส.สุจินต์ ช่วยเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......