กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัส




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 22/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าเด็กเล็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 2-5 ปี ส่วนใหญ่ มักจะมีปัญหาเรื่องพัฒนาการ การเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน รวมถึงสุขภาวะทางร่างกาย การเจริญเติบโต ส่วนใหญ่สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งอาหารการกินสำหรับเด็กในกลุ่มวัยนี้ คือการให้สารอาหารแก่เด็ก เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ความสำคัญของการกินในเด็ก นอกจากจะต้องคำนึงถึงสารอาหารที่เด็กควรจะได้รับแล้ว การกินอาหารยังเป็นปฏิสัมพันธ์ทางสังคมอย่างหนึ่งที่เด็กและคนในครอบครัวจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันในช่วงมื้ออาหาร       ปัญหาการกิน ได้แก่ ปัญหาเด็กกินยาก ไม่ยอมกินข้าว เบื่ออาหาร กินช้า อมข้าว ชอบกินอาหารฟาดฟู๊ด ขนมขบเคี้ยว อาหารสำเร็จรูป ฯลฯ ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยในสังคมไทย เกิดจากความไม่เข้าใจในการพัฒนาการเจริญเติบโตตามวัยของเด็กและไม่เข้าใจถึงหลักโภชนาการ และยังพบปัญหาเรื่องความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งในหลายๆโรคสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งในปัจจุบันพบปัญหาเหล่านี้มากขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดความเครียด ความกังวล ต่อผู้ปกครอง และส่งผลกระทบต่อเด็กโดยตรง และหากผู้ปกครองแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ไม่ถูกต้อง ปัญหาเหล่านี้ก็จะทวีคูณความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นจึงควรมีการป้องกันที่ดี และรีบแก้ไขปัญหาดังกล่าวตั้งแต่เบื้องต้น ซึ่งแนวทางแก้ไขปัญหาการกินในเด็กที่เหมาะสมตามช่วงวัย คือการอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมสุขภาพเด็กแต่ละช่วงวัยให้แก่ผู้ปกครอง ครู/ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง ถึงจะทำการแก้ไขปัญหาข้างต้นนี้ได้ ด้วยเหตุนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัส จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีนี้ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพิ่มขึ้น และสามารถนำไปส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และ นำบุตรหลานไปรับวัคซีนตามเกณฑ์
  3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมโภชนาการ และการได้รับอาหารเสริมตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และส่งเสริมโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
    2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีการส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการให้เด็กไทยมีสุขภาพดี โดยให้เด็กมีวินัย
      มีการเรียนรู้ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมพัฒนาการ อาหารและโภชนาการ รู้จักกิน ฉลาดซื้อ รู้คุณค่า
    3. เด็กนักเรียนปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพิ่มขึ้น และสามารถนำไปส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัสมีพัฒนาการตามวัย

     

    2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และ นำบุตรหลานไปรับวัคซีนตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัสได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

     

    3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมโภชนาการ และการได้รับอาหารเสริมตามวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัสมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพิ่มขึ้น และสามารถนำไปส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และ นำบุตรหลานไปรับวัคซีนตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมโภชนาการ และการได้รับอาหารเสริมตามวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยงมัส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด