โครงการปรับเปลี่ยนก่อนป่วย ด้วยสมุนไพรไทย
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนก่อนป่วย ด้วยสมุนไพรไทย |
รหัสโครงการ | 67-L5294-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรทักษอร |
วันที่อนุมัติ | 1 มีนาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 24 สิงหาคม 2567 - 24 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 13,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาววรรรณา หยงสตาร์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 5 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease, CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกรวมถึงประเทศไทย ภาวะไตเรื้อรังมักมีการดำเนินโรคไปสู่โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-Stage Renal Disease, ESRD) ที่ จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตหรือการปลูกถ่ายไต และยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญในการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด ทำให้สูญเสียสุขภาวะ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ประกอบกับสถานการณ์ปัญหาของผู้ป่วยโรค ไตเรื้อรังในประเทศไทยในปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต เพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจต่อตัวผู้ป่วยเองและต่อประเทศไทยในอนาคต เพราะต้องแบกรับ ค่าใช้จ่ายในการรักษาซึ่งมีราคาสูงโดยเฉพาะในระยะที่เข้าสู่งการบำบัดทดแทนไต การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไต เรื้อรังและชะลอความเสื่อยมของไต ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดัน โลหิตสูง กลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จึงเป็นเรื่องที่สำคัญโดยเฉพาะการค้นหา คัดกรอง เพื่อการเฝ้าระวัง รวมถึง การติดตามดูแลให้ความรู้และคำแนะนำเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทาน อาหาร การออก กำลังกาย การใช้ยาอย่างเหมาะสม ตั้งแต่การดูแลตนเองที่บ้านจนถึงเกิดการกระตุ้นให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพในการดูแลตนเองและดูแลผู้อื่น จนทำให้จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีจำนวนลดลงได้ในอนาคต ซึ่งเริ่มจากการดูแลคนในชุมชน ดังนั้น เพื่อให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ในกลุ่มประชาชนที่มีความ เสี่ยง และเกิดการชะลอการเสื่อมของไตในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ชุมชนบ้าน ทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 8 ) จึงจัดทำโครงการป้องกันและชะลอการเสื่อมไต ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันให้เหมาะสม ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมการปรับพฤติกรรมการทานอาหารที่เหมาะสมกับอายุ และธาตุเจ้าเรือน ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการเลือกทานอาหารที่เหมาะสมกับอายุ และธาตุเจ้าเรือน อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | |
3 | เพื่อส่งเสริมการปรับพฤติกรรมการยืดเหยียดร่างกาย และการใช้สมุนไพรพอกเข่า พอกตา พอกผิว ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการยืดเหยียดร่างกาย และการใช้สมุนไพรพอกเข่า พอกตา พอกผิว อย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
3 - 4 ก.ย. 67 | โครงการปรับเปลี่ยนก่อนป่วย ด้วยสมุนไพรไทย | 0 | 13,900.00 | - | ||
รวม | 0 | 13,900.00 | 0 | 0.00 |
คาดหวังว่าผู้เข้าร่วมโครงการจะได้ความรู้ ได้แนวทางการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรัง มีสุขภาพจิตดี มีกิจกรรมการเข้าสังคมลดความโดดเดี่ยว ลดความเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 00:00 น.