โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน ”
หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาลีป๊ะ เพ็ชรแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน
ที่อยู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5191-2-24 เลขที่ข้อตกลง 23/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ รหัสโครงการ 67-L5191-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในอดีตสังคมไทยที่เคยเป็นครอบครัวขยายก็กลายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นการทำงานนอกบ้านของผู้หญิงมีมากขึ้น การดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูลูกในวัยต่าง ๆตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น บิดามารดามีเวลาในการเลี้ยงดูลูกน้อยลง สถาบันครอบครัวอ่อนแอจนอาจเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยส่งผลต่อการพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กในระยะยาว ปัจจุบันพบว่าจังหวัดสงขลามีอัตรามารดา และทารกเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นจากโรคแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ( HT DM Thyroid Heart และ PPH) มีผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2564-2566) พบว่ามารดามีการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (มากกว่าร้อยละ 60) ร้อยละ 82.14,89.13 และร้อยละ 83.33 ตามลำดับ อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 (น้อยกว่าร้อยละ 10) ร้อยละ 7.95, 26.82 ทารกน้ำหนักต่ำกว่า ๒๕๐๐ กรัม (น้อยกว่าร้อยละ6) ร้อยละ6.56, 12.28 และ 9.23 ตามลำดับ มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 59.57,79.69 และร้อยละ12.28 ตามลำดับ และในปีงบประมาณ 2560-2562 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 21.04ร้อยละ 21.55และ59.62ตามลำดับ
ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์จนกระทั่งมารดาคลอด และดูแลตามวัยจนอายุ 5 ปีให้มีความปลอดภัยทั้งชีวิตมารดาและทารก ตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก ในพื้นที่เขตรับผิดชอบโดยการสร้างความร่วมมือกับครอบครัว ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็กพร้อมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC
- เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพอสม.
- อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์
- สนทนากลุ่ม (Focus group)
- กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
- ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง 5 ครั้งตามเกณฑ์ และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดทุกราย
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง
- เด็ก 0 – 6 ได้รับด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
- เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทุกช่วงวัย
- ไม่มีมารดาเสียชีวิตเกิดขึ้นในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่PCU1-2
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10
- เด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
- หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด (ต่ำกว่า 37 สัปดาห์) ลดลงร้อยละ 10 เทียบปีที่ผ่านมา
- ไม่เกิดภาวะ DFIU ( Death fetus in utero ) หรือไม่เกินร้อยละ 3
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC
ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่แนวใหม่แบบBBL และแบบการมีส่วนร่วม
50.00
75.00
2
เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ได้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และการเลี้ยงดูเด็กที่เป็นรูปธรรม
50.00
75.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC (2) เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพอสม. (2) อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ (3) สนทนากลุ่ม (Focus group) (4) กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ (5) ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5191-2-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวซาลีป๊ะ เพ็ชรแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน ”
หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาลีป๊ะ เพ็ชรแก้ว
กันยายน 2567
ที่อยู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5191-2-24 เลขที่ข้อตกลง 23/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ รหัสโครงการ 67-L5191-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในอดีตสังคมไทยที่เคยเป็นครอบครัวขยายก็กลายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นการทำงานนอกบ้านของผู้หญิงมีมากขึ้น การดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูลูกในวัยต่าง ๆตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น บิดามารดามีเวลาในการเลี้ยงดูลูกน้อยลง สถาบันครอบครัวอ่อนแอจนอาจเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยส่งผลต่อการพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กในระยะยาว ปัจจุบันพบว่าจังหวัดสงขลามีอัตรามารดา และทารกเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นจากโรคแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ( HT DM Thyroid Heart และ PPH) มีผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2564-2566) พบว่ามารดามีการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (มากกว่าร้อยละ 60) ร้อยละ 82.14,89.13 และร้อยละ 83.33 ตามลำดับ อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 (น้อยกว่าร้อยละ 10) ร้อยละ 7.95, 26.82 ทารกน้ำหนักต่ำกว่า ๒๕๐๐ กรัม (น้อยกว่าร้อยละ6) ร้อยละ6.56, 12.28 และ 9.23 ตามลำดับ มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 59.57,79.69 และร้อยละ12.28 ตามลำดับ และในปีงบประมาณ 2560-2562 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 21.04ร้อยละ 21.55และ59.62ตามลำดับ
ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์จนกระทั่งมารดาคลอด และดูแลตามวัยจนอายุ 5 ปีให้มีความปลอดภัยทั้งชีวิตมารดาและทารก ตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก ในพื้นที่เขตรับผิดชอบโดยการสร้างความร่วมมือกับครอบครัว ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็กพร้อมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC
- เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพอสม.
- อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์
- สนทนากลุ่ม (Focus group)
- กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
- ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง 5 ครั้งตามเกณฑ์ และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดทุกราย
- เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง
- เด็ก 0 – 6 ได้รับด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
- เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทุกช่วงวัย
- ไม่มีมารดาเสียชีวิตเกิดขึ้นในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่PCU1-2
- หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10
- เด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
- หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด (ต่ำกว่า 37 สัปดาห์) ลดลงร้อยละ 10 เทียบปีที่ผ่านมา
- ไม่เกิดภาวะ DFIU ( Death fetus in utero ) หรือไม่เกินร้อยละ 3
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่แนวใหม่แบบBBL และแบบการมีส่วนร่วม |
50.00 | 75.00 |
|
|
2 | เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ ตัวชี้วัด : ได้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และการเลี้ยงดูเด็กที่เป็นรูปธรรม |
50.00 | 75.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC (2) เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพอสม. (2) อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ (3) สนทนากลุ่ม (Focus group) (4) กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ (5) ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5191-2-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวซาลีป๊ะ เพ็ชรแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......