ออกกำลังกายสัญจรผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว
ชื่อโครงการ | ออกกำลังกายสัญจรผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว |
รหัสโครงการ | 2568-L3351-02-21 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว |
วันที่อนุมัติ | 19 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 6,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายนิตย์ ขวัญพรหม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.624238,100.014564place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 563 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) | 5.00 | ||
2 | ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน | 5.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวมีเป้าหมายต้องการให้ผู้สูงอายุในชมรมได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้สูงอายุสุขภาพดีโดยการรวมกลุ่มกันเดินออกกำลังกายสัญจร เสร็จแล้วมารวมกลุ่มที่ศาลาเอนกประสงค์ของแต่ละหมู่บ้านสลับสับเปลี่ยนไปตามชุมชนหมู่บ้านในพื้นที่รับผิดชอบ คือ หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงาย ซึ่่งการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนพูดคุย รู้ร่วมกันในการออกกำลังกายเพื่อผ่อนคลายอารมณ์เครียด ซึ่งการจัดกิจกรรมแต่ละหมู่บ้าน ชุมชน สลับกันเป็นเจ้าภาพและการนำวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกายโดยการนำท่ามโนราห์มาเป็นท่าในการออกกำลังกายเป็นการนำหลักการเคลื่อนไหวประกอบเสียงดนตรีมโนราห์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมาร่วมออกกำลังกายให้มากขึ้น ตามบริบทของแต่ละคนตามความเหมาะสมกลับกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ทางด้านการออกกำลังกายที่นำศิลปการแสดพื้นบ้านใช้เป็นท่าในการอออกกำลังกายได้หลายท่าและเป็นการบริหารทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่แขนและขาลงมาทำให้ช่วยลดปัญหาข้อติดของผู้สูงอายุได้มาก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
5.00 | 10.00 |
2 | เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน |
5.00 | 10.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 6,000.00 | 0 | 0.00 | |
19 ก.พ. 68 - 31 ก.ค. 68 | ส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการเดินจัดแบบสัญจรและส่งเสริมการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตามหลัก 3 อ | 0 | 6,000.00 | - | ||
19 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | การติดตามและประเมินผล | 0 | 0.00 | - | ||
14 พ.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | 0 | 0.00 | - |
- ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายโดยการเดินเพื่อสุขภาพและมีกิจกรรมทางกายด้วยท่ามโนราห์บิคเพิ่มขึ้น
- ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
- ความพึงพอใจผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2567 00:00 น.