กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสมฤทัย มะนะโส




ชื่อโครงการ โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2568-L6896-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,462.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลสถิติประชากรงานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครตรัง ณ เดือนกรกฎาคม 2567 พบว่ามีประชากร ในพื้นที่เขตเทศบาลนครตรัง ทั้งหมด 54,344 คน โดยมีกลุ่มประชากรที่มากที่สุดแบ่งเป็น 3 อันดับดังนี้ อันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ร้อยละ 52.63 อันดับสอง กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 22.23 อันดับสาม กลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 18.09 ซึ่งขณะนี้เทศบาลนครตรังได้เข้าสู่การเป็น“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และคาดการณ์ว่าในปี 2572 เทศบาลนครตรังจะเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society) มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.44 ซึ่งครอบครัวของผู้สูงอายุต้องพบกับความสูญเสียจากการจากไปของคนในครอบครัว โดยไม่ได้เตรียมความพร้อม หรือเกิดความขัดแย้ง ในครอบครัว การวางแผนการดูแลล่วงหน้าเป็นกระบวนการที่เคารพความเป็นปัจเจกชนของบุคคล โดยให้บุคคลมีส่วนร่วมกับบุคลากรด้านสุขภาพในการตัดสินใจในการดูแลตนเอง ซึ่งผู้ที่ไม่เจ็บป่วย หรือผู้ป่วยก็สามารถวางแผนการดูแลล่วงหน้า เพื่อตัดสินใจแนวทางในการดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองในอนาคตตามที่ต้องการได้ ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่รุนแรง และรักษาไม่หาย รวมถึงการดูแลผู้สูงอายุ การวางแผนการดูแลล่วงหน้า เป็นสิ่งสำคัญมาก เนื่องจากหากผู้ป่วยและญาติได้ร่วมกันวางแผนการดูแลล่วงหน้ากับบุคลากรสุขภาพจะทำให้บุคลากรด้านสุขภาพทราบถึงเป้าหมาย และความต้องการในการดูแลของผู้ป่วย และครอบครัว ในบางกรณียังช่วยลดการให้การรักษาที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ป่วยที่จะนำไปสู่การขัดแย้งกันกับฝ่ายผู้ให้การรักษาพยาบาล ความชัดเจนที่เพิ่มขึ้นของแผนการดูแลล่วงหน้ายังลดความเครียดในการดูแลผู้ป่วยจากความไม่แน่นอนของอาการในระยะนี้ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่รุนแรง และรักษาไม่หาย และจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการกำหนดรายละเอียดในการดูแลผู้ป่วยตามบริบทอำนาจหน้าที่ของตนเอง และเพิ่มโอกาสในการนำการวางแผนการดูแลล่วงหน้าไปใช้ในกระบวนการดูแลผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนต่อไป พระราชบัญญัติกำหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 มาตรา 17 ให้เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ด้านการสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพ จึงมีความสอดคล้องไปกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการที่จะ พัฒนาแกนนำให้มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน ร่วมกับแกนนำสามารถเผยแพร่การดูแลผู้สูงอายุ และการดูแลแบบประคับประคอง เกิดการขยายผลในชุมชน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองในอนาคตตามที่ต้องการได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบความต้องการของตนเองในการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า
  2. เพื่อให้แกนนำที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า
  2. การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568
  3. สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า
  4. การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมการวางแผนดูแลตนเองล่วงหน้า       2. แกนนำสามารถถ่ายถอดความรู้การดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำหรับขั้นตอนการดำเนินงาน เริ่มแรกมีการประชุมคณะทำงานและทีมวิทยากร ในการกำหนดเนื้อหาการจัดอบรมและรูปแบบการอบรม และกำหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัติการคัดเลือกแกนนำเข้ารับการอบรม อาทิเช่น ผู้มีความสนใจในการอบรมและสามารถถ่ายทอดได้ สามารถเข้าอบรมได้ครบ 3 วัน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้ ซึ่งจากการดำเนินโครงการ ร้อยละ 100 ของแกนนำอาสา สามารถถ่ายทอดความรู้การวางแผนการดูแลสุขภาพล่วงหน้าในชุมชนได้ จำนวน 144 ราย และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง เข้าร่วมการวางแผนการดูแลสุขภาพล่วงหน้า จำนวน 144 ราย พบว่ารอตัดสินใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.39 รองลงมาไม่ทำแผนการดูแลล่วงหน้า คิดเป็นร้อยละ 40.98 และทำแผนล่วงหน้า คิดเป็นร้อยละ 7.63

 

40 0

2. การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนิน มีการประชาสัมพันธ์โครงการฯ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และประสานข้อมูลผ่านผู้นำชุมชน,อาสาสมัครสาธารณสุข,สมาชิกเทศบาลนครตรัง และแกนนำชุมชนในการรับสมัครอบรม มีการแต่งตั้งคณะทำงาน และประชุมคณะทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมในด้านเอกสารประกอบการเรียนรู้ สถานที่ อาหารและเครื่องดื่ม ค่าวิทยากร ที่พักวิทยากร ค่าเดินทางของวิทยากร และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีการจัดอบรมตามกำหนดการ และสรุปผลการถอดบทเรียน และนำไปขยายผลในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจ การวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า จากแกนนำอาสาเพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบความต้องการของตนเองในการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมการวางแผนดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า (ทำสมุดเบาใจ)

 

2 เพื่อให้แกนนำที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบความต้องการของตนเองในการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า (2) เพื่อให้แกนนำที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า (2) การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568 (3) สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า (4) การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance care planning) ปี 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2568-L6896-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมฤทัย มะนะโส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด