โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิสากร บุญช่วย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-05-41 เลขที่ข้อตกลง 40/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L8008-05-41 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ได้มีสถานการณ์ฝนตกหนักและ เกิดภาวะอุทกภัยน้ำท่วมในจังหวัดสตูล ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้น ตำบลพิมานเป็นอีกพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบน้ำท่วมขัง น้ำทะเลหนุนสูง ทำให้เกิดประชาชนในพื้นที่ติดต่อกับคลองป่าชายเลน ได้รับผลกระทบน้ำท่วมขังในบ้านหลายหลังคาเรือน ได้แก่ ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออกชุมชนทุ่งเฉลิมสุข ชุมชนซอยปลาเค็ม ชุมชนชนาธิป ชุมชนปานชูรำลึก ชุมชนซอยม้าขาว ชุมชนสันตยาราม ชุมชนบ้านหัวทาง ชุมชนบ้านท่านายเนาว์ และชุมชนศาลากันตง สถานการณ์น้ำท่วมขังในพื้นที่เริ่มส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่ประสบภัย ได้แก่ อาการไข้ อาการหวัดคัดจมูก ปัญหาน้ำกัดเท้า โรคฉี่หนู และคาดการณ์ว่าสถานการณ์ฝนตกหนักต่อเนื่อง น้ำท่วมขังและน้ำทะเลหนุนสูงจะเป็นปัญหาติดต่อกันอีกหลายวันซึ่งจะยิ่งส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาสาธารณสุขที่มากับน้ำท่วมขัง เป็นวงกว้างเพิ่มมากขึ้นตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ พ.ศ. 2567 ข้อ 10(5)เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ได้ตามจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์
ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองสตูล เล็งเห็นปัญหาสาธารณสุขที่ประชาชนจะได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม จึงขอจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทุกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน)
- เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน
- เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คาดการณ์ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมขัง
500
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมได้รับการดูแลด้านสุขภาพเบื้องต้น
2.ผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบกับน้ำท่วมได้รับการดูแล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน
วันที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อเตรียมเวชภัณฑ์ที่จำเป็น
2.จัดยาบรรจุซอง เป็นชุดๆ
3. รวบรวมแจกจ่ายตามยอดที่สำรวจและแจ้งความต้องการจาก อสม.
4. อสม ลงตรวจและ เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ แจกยาเวชภัณฑ์ที่จำเป็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พบพื้นที่ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมขัง จำนวน 8 ชุมชน ได้แก่
ชุมชนทุ่งเฉลิมสุข
ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก
ชุมชนซอยปลาเค็ม
ชุมชนท่านายเนาว์
ชุมชนชนาธิป
ชุมชนซอยม้าขาว
ชุมชนสันตยาราม
ชุมชนห้องสมุด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วมขังได้รับการดูแลด้านเวชภัณฑ์ยาเบื้อต้น
500.00
0.00
2
เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาล
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
คาดการณ์ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมขัง
500
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน) (2) เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน (2) เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-05-41
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนิสากร บุญช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิสากร บุญช่วย
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-05-41 เลขที่ข้อตกลง 40/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L8008-05-41 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ได้มีสถานการณ์ฝนตกหนักและ เกิดภาวะอุทกภัยน้ำท่วมในจังหวัดสตูล ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้น ตำบลพิมานเป็นอีกพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบน้ำท่วมขัง น้ำทะเลหนุนสูง ทำให้เกิดประชาชนในพื้นที่ติดต่อกับคลองป่าชายเลน ได้รับผลกระทบน้ำท่วมขังในบ้านหลายหลังคาเรือน ได้แก่ ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออกชุมชนทุ่งเฉลิมสุข ชุมชนซอยปลาเค็ม ชุมชนชนาธิป ชุมชนปานชูรำลึก ชุมชนซอยม้าขาว ชุมชนสันตยาราม ชุมชนบ้านหัวทาง ชุมชนบ้านท่านายเนาว์ และชุมชนศาลากันตง สถานการณ์น้ำท่วมขังในพื้นที่เริ่มส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของประชาชนที่อยู่อาศัยในพื้นที่ประสบภัย ได้แก่ อาการไข้ อาการหวัดคัดจมูก ปัญหาน้ำกัดเท้า โรคฉี่หนู และคาดการณ์ว่าสถานการณ์ฝนตกหนักต่อเนื่อง น้ำท่วมขังและน้ำทะเลหนุนสูงจะเป็นปัญหาติดต่อกันอีกหลายวันซึ่งจะยิ่งส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาสาธารณสุขที่มากับน้ำท่วมขัง เป็นวงกว้างเพิ่มมากขึ้นตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ พ.ศ. 2567 ข้อ 10(5)เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ได้ตามจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองสตูล เล็งเห็นปัญหาสาธารณสุขที่ประชาชนจะได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม จึงขอจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทุกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน)
- เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน
- เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
คาดการณ์ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมขัง | 500 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมได้รับการดูแลด้านสุขภาพเบื้องต้น
2.ผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบกับน้ำท่วมได้รับการดูแล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน |
||
วันที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อเตรียมเวชภัณฑ์ที่จำเป็น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพบพื้นที่ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมขัง จำนวน 8 ชุมชน ได้แก่
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วมขังได้รับการดูแลด้านเวชภัณฑ์ยาเบื้อต้น |
500.00 | 0.00 |
|
|
2 | เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นได้รับการส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาล |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
คาดการณ์ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วมขัง | 500 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาอาการป่วยของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม (ประมาณการอย่างน้อยครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ 650 หลังคาเรือน) (2) เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขัง กรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในหน่วยบริการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรเทาสถาณการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากปัญหาน้ำท่วมขังให้แก่ประชาชน (2) เฝ้าระวังบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงที่ประสบภัยน้ำท่วมขังกรณีมีความจำเป็นส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากปัญหาภาวะอุทกภัยในพื้นที่ตำบลพิมาน ประจำปีงบประมาณ2567 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-05-41
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนิสากร บุญช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......