การตรวจคัดกรองโรคทางตาและความผิดปกติด้านการมองเห็นในผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ พ.ศ 2567
ชื่อโครงการ | การตรวจคัดกรองโรคทางตาและความผิดปกติด้านการมองเห็นในผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ พ.ศ 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2524-2-0023 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มผู้สูงอายุบ้านสายบน |
วันที่อนุมัติ | 8 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ธันวาคม 2568 |
งบประมาณ | 5,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพิน บุญล้อม |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านสายบน ม.3 ต.กาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.264851,101.411801place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2567 | 31 ต.ค. 2567 | 5,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 5,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน) | 4.00 | ||
2 | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน) | 4.00 | ||
3 | จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน) | 2.00 | ||
4 | จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน) | 50.00 | ||
5 | ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 60.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ดวงตาประกอบด้วยส่วนที่มองเห็นจากภายนอก และส่วนที่อยู่ภายใน เช่น คิ้ว ขนตา เปลือกตา ต่อมน้ำตาและท่อระบายน้ำตา เบ้าตา เยื่อบุตา กระจกตา ตาขาว ม่านตา แก้วตา จอตาและประสาทตา กล้ามเนื้อกลอกตา และสารน้ำภายในลูกตา ในดวงตามีตัวรับความรู้สึกชนิดต่างๆ ที่ไวต่อแสง ระบบประสาทจะนำสัญญาณความรู้สึกที่ได้รับเข้าสู่สมองและสมองทำหน้าที่แปลความหมายของภาพที่มองเห็น ความลึก หรือความสามารถในการบอกมิติและความสามารถในการป้องกันตนเอง ดวงตายังมีขบวนการป้องกันอันตรายหรือการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของระบบการมองเห็น (รีเฟล็กซ์) ดวงตายังมีบทบาทสำคัญกับระบบควบคุมการทรงตัว (Vestibular System) และระบบการรับรู้อากัปกริยา (Proprioception) อีกด้วย หากสุขภาพดวงตาเสียไปจะทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ ต้องพึ่งพาผู้อื่นและเป็นภาวะในการดูแลของครอบครัวและสังคม ดังนั้น จึงต้องมีวิธีการดูแลสุขภาพดวงตา ก่อนอื่นต้องสังเกตว่าตนเองมีอาการเหล่านี้ที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคตาหรือไม่ ได้แก่ ตามัวตลอดเวลาหรือชั่วคราว ตาสู้แสงไม่ได้ มองเห็นจุดหรือเส้นสีดำๆ ลอยไปมา ตาบอดกลางคืน มองเห็นแสงวาบ มองเห็นภาพซ้อน เห็นแสงสีรุ้งรอบดวงไฟ ปวดตา คันตา และตาแดง หากพบอาการดังกล่าวต้องรีบไปพบ จักษุแพทย์ทันที ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อการมองเห็นและเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคน เนื่องจากทำให้ การปฏิบัติทุกอย่างเกิดความสะดวก ถูกต้อง และเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจน สิ่งที่ทำให้มนุษย์มองเห็นก็คือ ดวงตา และประสาทตา ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตา จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมากสำหรับมนุษย์ทุกคน ผู้สูงอายุและผู้สูงอายุมีผู้ที่มีปัญหาทางสายตาและการมองเห็นมากขึ้น ซึ่งปัญหาทางสายตาที่มักเกิดขึ้น ได้แก่ ตามัวตลอดเวลาหรือชั่วคราว ตาสู้แสงไม่ได้ มองเห็นจุดหรือเส้นสีดำๆ ลอยไปมา ตาบอดกลางคืน มองเห็นแสงวาบ มองเห็นภาพซ่อน เห็นแสงสีรุ้งรอบดวงไฟ ปวดตา คันตา และตาแดง หากพบอาการดังกล่าวต้องรีบไปพบ จักษุแพทย์ทันทีซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อการมองเห็นและเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคน เนื่องจากทำให้ การปฏิบัติทุกอย่างเกิดความสะดวก ถูกต้อง และเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจน สิ่งที่ทำให้มนุษย์มองเห็นก็คือ ดวงตา และประสาทตา หากการมองเห็นของเราแย่ลงจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ต้อกระจก หรือสายตาผิดปกติที่ไม่ได้แก้ไข จะมีผลกระทบได้หลายระบบในร่างกาย เช่น การทรงตัวไม่ดี การกะระยะต่าง ๆ ผิดพลาด ส่งผลทำให้เกิดการพลัดตกหรือหกล้ม และหากฝืนเพ่งมากอาจเกิดอาการเมื่อยล้าตา ปวดตา ปวดศีรษะ ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงได้ดังนั้นการดูแลรักษาที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตา จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมากสำหรับมนุษย์ทุกคน ซึ่งโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบสายตามีหลายชนิด ได้แก่ สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง เหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยการสวมใส่แว่นสายตาที่เหมาะสม ความสำคัญเรื่องสายตาของผู้สูงอายุและประชาชนทั่ว โดยการตรวจวินิจฉัยโรคทางตา และตรวจวัดสายตา สำหรับใช้แว่นตาที่เหมาะสม เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนด้านสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง |
4.00 | 1.00 |
2 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง |
4.00 | 1.00 |
3 | เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น |
2.00 | 1.00 |
4 | เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง |
50.00 | 1.00 |
5 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด |
60.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 5,000.00 | 0 | 0.00 | 5,000.00 | |
1 - 31 ต.ค. 67 | การตรวจคัดกรองโรคทางตาและความผิดปกติด้านการมองเห็นในผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | 0 | 5,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 5,000.00 | 0 | 0.00 | 5,000.00 |
ผู้สูงอายุได้รับการดูแลเรื่องสายตาและสามารถรับมือกับการดูแลในด้านสายและเข้ารับการรักษาได้ทันที
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 2567 14:22 น.