โครงการอบรมอาหารเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมอาหารเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2524-2-00024 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านสายบน |
วันที่อนุมัติ | 8 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 5,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวยุพดี ปิ่นละมั้ย |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านสายบน ม.3 ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.237232,101.420156place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2567 | 31 ต.ค. 2567 | 5,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 5,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด | 80.00 | ||
2 | ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย | 60.00 | ||
3 | ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน | 40.00 | ||
4 | ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม | 80.00 | ||
5 | ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์) | 90.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการ ได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ตามหลักของการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของประชาชนถือเป็นสำคัญ การประกอบอาหารถือเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ที่นอกจากรสชาติที่ดี ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหาร เพราะหากอาหารนั้นมีสิ่งแปลกปลอม อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ปัจจุบันประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น การที่จะให้ประชาชนในพื้นที่ มีสุขภาพที่ดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ควรให้การสนับสนุน ดูและ เฝ้าระวัง และป้องกันให้ประชาชนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่า ส่วนใหญ่การบริโภคอาหารขอประชากรในพื้นที่จะปรุงอาหารตามใจชอบ จะเน้นรสจัด เป็นสำคัญ ทำให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรค เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน ไขมันในเลือด เป็นต้น ดังนั้นประชาชนควรตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่คุณค่าทางโภชนาการและมีการปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย เน้นการปรุงอาหารแบบ ต้ม นึ่ง ย่าง หรือ อาหารคลีน เพราะอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ดังนั้น กลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านสายบน หมู่ที่ 3 บ้านสายบน ได้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่ถูกต้อง ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ และสุขาภิบาล ลด หวาน มัน เค็ม จึงได้เสนอโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาหลง สำหรับดำเนินโครงการดังกล่าว
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม |
80.00 | 1.00 |
2 | เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์) ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์) |
90.00 | 1.00 |
3 | เพื่อเพิ่มภาวะสูงดีสมส่วนในเด็ก 6-14 ปี ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน |
40.00 | 1.00 |
4 | เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด |
80.00 | 1.00 |
5 | เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย |
60.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 5,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 31 ต.ค. 67 | อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการอาหารเพื่อสุขภาพ, ให้ความรู้เรื่องโทษของการบริโภคผักที่มีสารพิษเจือปน | 0 | 5,000.00 | - |
- ประชาชนที่เข้าร่วมรับการอบรม “โครงการอบรมอาหารเพื่อสุขภาพ” สามารถทำอาหารเพื่อสุขภาพทานเองได้
- ประชาชนได้มีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น
- ผู้เข้าร่วมรับการอบรมเข้าใจวิธีการทำอาหารคลีนที่ถูกวิธี
- เกิดทักษะและประสบการณ์ในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
- ผู้เข้าร่วมอบรมที่ได้รับประโยชน์จากโครงการนี้จำนวน 30 คน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 2567 15:57 น.