โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูซีลามาหะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2514-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่มีการระบาดเกือบทุกปี โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเป็นมาตรการลดความชุกชุมของยุงทั้งในโรงเรียนหมู่บ้านอย่างตอเนื่องเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนและประชาชนเห็นความสำคัญเช่นทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในทุกวันศุกร์ในโรงเรียนและในชุมชนของตนเอง จากมาตรการการดำเนินงานในการกำจัดลูกน้ำยุงลายต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐเอกชนที่สำคัญประชาชนในหมู่บ้านจะต้องให้ความสำคัญและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ โดยมีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ที่คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนในเรื่องของทรัพยากรที่ขาดหรือที่ประชาชนไม่สามารถหาได้เอง
สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอรือเสาะ ปี ๒๕๕๙ มีผู้ป่วยทั้งหมด มีอัตราป่วย ๓๐๖.๕๖ ต่อแสนประชากร สำหรับตำบลลาโละ พบผู้ป่วย ทั้งหมด ๑๗ ราย อัตราป่วย ๑๘๕.๙๑ ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดคืออัตราป่วยต้องไม่เกิน50ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันเพื่อมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิได้จัดโครงการชุมชนร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๐ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันโรคแก่ประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคเพื่อนำสู่การมีสุขภาพอนามัยที่ดีตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา
- เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
220
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ สามารถสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา
๒ สามารถควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน
วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑.๑ ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน ผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน ๒๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
1.2 จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์โรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานบริการ
1.3 อสม.และแกนนำชุมชน ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและมัสยิด
1.4 อสม.และแกนนำชุมชน แจกสารกำจัดลูกน้ำยุงลาย ออกพ่นหมอกควันทำลายยุงทั้งในโรงเรียน บ้านและมัสยิด
1.5 จัดทำสื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน
๑.๖ จัดกิจกรรมสัปดาห์ Big Cleaning Day
๑.๗ ดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคและออกพ่นหมอกควันทำลายยุงตัวแก่เมื่อมีการระบาดของ
โรคไข้เลือดออกทุกราย
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
220
220
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๑ ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน ผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน ๒๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
1.2 จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์โรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานบริการ
1.3 อสม.และแกนนำชุมชน ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและมัสยิด
1.4 อสม.และแกนนำชุมชน แจกสารกำจัดลูกน้ำยุงลาย ออกพ่นหมอกควันทำลายยุงทั้งในโรงเรียน บ้านและมัสยิด
1.5 จัดทำสื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน
๑.๖ จัดกิจกรรมสัปดาห์ Big Cleaning Day
๑.๗ ดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคและออกพ่นหมอกควันทำลายยุงตัวแก่เมื่อมีการระบาดของ
โรคไข้เลือดออกทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ๑.มีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนและโรงเรียน
2
เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ๑. สามารถควบคุมโรคสงบไม่เกิน Generation ที่ ๒
๒. ค่าดัชนีBreteauIndex(BI)ไม่เกิน50
๓. ค่าดัชนีHouseIndex(HI)ไม่เกิน10
๔. ค่าดัชนีContenierIndex(CI)ไม่เกิน0
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
220
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
220
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา (2) เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรูซีลามาหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรูซีลามาหะมะ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2514-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่มีการระบาดเกือบทุกปี โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเป็นมาตรการลดความชุกชุมของยุงทั้งในโรงเรียนหมู่บ้านอย่างตอเนื่องเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนและประชาชนเห็นความสำคัญเช่นทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในทุกวันศุกร์ในโรงเรียนและในชุมชนของตนเอง จากมาตรการการดำเนินงานในการกำจัดลูกน้ำยุงลายต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐเอกชนที่สำคัญประชาชนในหมู่บ้านจะต้องให้ความสำคัญและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ โดยมีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ที่คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนในเรื่องของทรัพยากรที่ขาดหรือที่ประชาชนไม่สามารถหาได้เอง สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอรือเสาะ ปี ๒๕๕๙ มีผู้ป่วยทั้งหมด มีอัตราป่วย ๓๐๖.๕๖ ต่อแสนประชากร สำหรับตำบลลาโละ พบผู้ป่วย ทั้งหมด ๑๗ ราย อัตราป่วย ๑๘๕.๙๑ ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดคืออัตราป่วยต้องไม่เกิน50ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันเพื่อมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิได้จัดโครงการชุมชนร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๐ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันโรคแก่ประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคเพื่อนำสู่การมีสุขภาพอนามัยที่ดีตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา
- เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 220 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑ สามารถสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา ๒ สามารถควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑.๑ ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน ผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน ๒๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
|
220 | 220 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๑ ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำชุมชน ประชาชนในชุมชน ผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน ๒๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
1.2 จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์โรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานบริการ
1.3 อสม.และแกนนำชุมชน ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและมัสยิด
1.4 อสม.และแกนนำชุมชน แจกสารกำจัดลูกน้ำยุงลาย ออกพ่นหมอกควันทำลายยุงทั้งในโรงเรียน บ้านและมัสยิด
1.5 จัดทำสื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน
๑.๖ จัดกิจกรรมสัปดาห์ Big Cleaning Day
๑.๗ ดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคและออกพ่นหมอกควันทำลายยุงตัวแก่เมื่อมีการระบาดของ
โรคไข้เลือดออกทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา ตัวชี้วัด : ๑.มีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนและโรงเรียน |
|
|||
2 | เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ๑. สามารถควบคุมโรคสงบไม่เกิน Generation ที่ ๒ ๒. ค่าดัชนีBreteauIndex(BI)ไม่เกิน50 ๓. ค่าดัชนีHouseIndex(HI)ไม่เกิน10 ๔. ค่าดัชนีContenierIndex(CI)ไม่เกิน0 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 220 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 220 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนและสถานศึกษา (2) เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวลาโละร่วมแรง ร่วมใจ ต้านภัยไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรูซีลามาหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......