ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7258-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7258-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,340,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ซึ่งคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้และพหุวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัดสงขลา : ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาและกีฬา สังคมสงเคราะห์และสาธารณสุข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต แผนงานสาธารณสุข และนโยบายเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งผู้บริหารได้กำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขและคุณภาพชีวิต มีการส่งเสริมสนับสนุนงานด้านสังคมสงเคราะห์ ให้แก่ เด็กและเยาวชน ซึ่งมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการให้วัยรุ่นในเขตราชการส่วนท้องถิ่น ได้รับสิทธิตามมาตรา ๕ ความว่า วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์
เด็กคือทรัพยากรอันทรงคุณค่ามีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการดูแลจากครอบครัวและสังคมตลอด จนได้รับบริการจากภาครัฐอย่างเหมาะสมทุกด้านเพื่อการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ และในปัจจุบันประชาชนกรไทยมีอัตราการเกิดน้อยกว่าอัตราตาย ตั้งแต่ปี 2564 และเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี 2566 เมื่อจำนวนประชากรลดน้อยลง การพัฒนาคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะการพัฒนาในช่วงแรกของชีวิตนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิซึ่งต้องเริ่มดูแลตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอดและระยะเด็กปฐมวัย เด็กที่มีคุณภาพจะต้องมีพัฒนาการสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม การพัฒนาเด็กให้มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทุกด้านจึงเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด แต่ในปัจจุบันแม่และเด็กหาดใหญ่ยังประสบกับปัญหาทางด้านสุขภาพในหลายประเด็น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของแม่และเด็ก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ การขาดธาตุไอโอดีน ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และปัจจัยด้านอื่น ๆ เช่น ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภาวะโรคต่าง ๆ และการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เป็นต้น
เทศบาลหาดใหญ่ ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพแม่และเด็ก โดยมีเป้าหมายการส่งเสริมการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัย โดยได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต คือทารกในครรภ์มารดาตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ จนถึง อายุ 2 ปี ซึ่งต้องดูแลตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพที่ดี ลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดก่อนกำหนด การดูแลมารดาทารกหลังคลอด เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมบทบาทพ่อแม่คุณภาพ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพทุกด้าน รวมทั้งการได้รับบริการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐานทั้งเชิงรับและเชิงรุก ซึ่งเทศบาลนครหาดใหญ่ได้ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ผ่านโครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก ผลการดำเนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2565 เกิดผลสัมฤทธิ์ทำให้สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
2.หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม
3.หญิงตั้งครรภ์ มารดาหละังคลอดและครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง
4.เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กปฐมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อส่งเสริมโภชนาการที่เหมาะสม สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
112
0
2. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
35
0
3. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
120
0
4. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567
วันที่ 27 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
127
0
5. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568
วันที่ 24 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
142
0
6. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก (โรงเรียนพ่อแม่) แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีที่เข้าร่วมโครงการรายใหม่ทุกราย (อย่างน้อย 1 ครั้ง)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
40
0
7. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
143
0
8. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568
วันที่ 28 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
128
0
9. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568
วันที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
117
0
10. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568
วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
2.หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม
3.หญิงตั้งครรภ์ มารดาหละังคลอดและครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง
4.เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กปฐมวัย
40
0
11. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568
วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
2.หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม
3.หญิงตั้งครรภ์ มารดาหละังคลอดและครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง
4.เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กปฐมวัย
118
0
12. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568
วันที่ 27 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน
2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ
4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน
2.หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม
3.หญิงตั้งครรภ์ มารดาหละังคลอดและครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง
4.เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กปฐมวัย
115
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และปฐมวัย
3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1.อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์ต่ำกว่า 12สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2.อัตราการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (Hct 1) ไม่เกินร้อยละ14
4.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ
5.อัตราการดูแลหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
6.เด็กแรกเกิดต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
7.ลดภาวะคลอดก่อนกำหนด อย่างน้อยร้อยละ 50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567 (2) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 (3) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 (4) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567 (5) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568 (6) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568 (7) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568 (8) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568 (9) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568 (10) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568 (11) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 (12) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7258-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7258-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7258-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,340,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล การขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ซึ่งคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้และพหุวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัดสงขลา : ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาและกีฬา สังคมสงเคราะห์และสาธารณสุข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต แผนงานสาธารณสุข และนโยบายเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งผู้บริหารได้กำหนดนโยบายด้านสาธารณสุขและคุณภาพชีวิต มีการส่งเสริมสนับสนุนงานด้านสังคมสงเคราะห์ ให้แก่ เด็กและเยาวชน ซึ่งมีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการให้วัยรุ่นในเขตราชการส่วนท้องถิ่น ได้รับสิทธิตามมาตรา ๕ ความว่า วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์
เด็กคือทรัพยากรอันทรงคุณค่ามีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการดูแลจากครอบครัวและสังคมตลอด จนได้รับบริการจากภาครัฐอย่างเหมาะสมทุกด้านเพื่อการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ และในปัจจุบันประชาชนกรไทยมีอัตราการเกิดน้อยกว่าอัตราตาย ตั้งแต่ปี 2564 และเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี 2566 เมื่อจำนวนประชากรลดน้อยลง การพัฒนาคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยเฉพาะการพัฒนาในช่วงแรกของชีวิตนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิซึ่งต้องเริ่มดูแลตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอดและระยะเด็กปฐมวัย เด็กที่มีคุณภาพจะต้องมีพัฒนาการสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม การพัฒนาเด็กให้มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทุกด้านจึงเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด แต่ในปัจจุบันแม่และเด็กหาดใหญ่ยังประสบกับปัญหาทางด้านสุขภาพในหลายประเด็น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพของแม่และเด็ก ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ การขาดธาตุไอโอดีน ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และปัจจัยด้านอื่น ๆ เช่น ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภาวะโรคต่าง ๆ และการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เป็นต้น
เทศบาลหาดใหญ่ ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพแม่และเด็ก โดยมีเป้าหมายการส่งเสริมการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัย โดยได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต คือทารกในครรภ์มารดาตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ จนถึง อายุ 2 ปี ซึ่งต้องดูแลตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพที่ดี ลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดก่อนกำหนด การดูแลมารดาทารกหลังคลอด เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมบทบาทพ่อแม่คุณภาพ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพทุกด้าน รวมทั้งการได้รับบริการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐานทั้งเชิงรับและเชิงรุก ซึ่งเทศบาลนครหาดใหญ่ได้ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ผ่านโครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก ผลการดำเนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2565 เกิดผลสัมฤทธิ์ทำให้สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568
- กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน 2.หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดและเด็กปฐมวัยได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม 3.หญิงตั้งครรภ์ มารดาหละังคลอดและครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง 4.เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กปฐมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567 |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อส่งเสริมโภชนาการที่เหมาะสม สร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
|
112 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 |
||
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
35 | 0 |
3. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 |
||
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
120 | 0 |
4. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567 |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
127 | 0 |
5. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568 |
||
วันที่ 24 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
142 | 0 |
6. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568 |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก (โรงเรียนพ่อแม่) แก่หญิงตั้งครรภ์และสามีที่เข้าร่วมโครงการรายใหม่ทุกราย (อย่างน้อย 1 ครั้ง) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
40 | 0 |
7. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568 |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
143 | 0 |
8. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568 |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
128 | 0 |
9. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568 |
||
วันที่ 25 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เร็วและเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
|
117 | 0 |
10. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568 |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 0 |
11. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
118 | 0 |
12. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568 |
||
วันที่ 27 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับลงทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ทุกวันที่ 1 - 10 ของทุกเดือน 2.รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ด้วยโปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 3.ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ศูนย์บริการสาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ทราบ 4.จ่ายนม - ไข่ เดือนละ 1 ครั้ง ตามวันที่ และเวลาที่กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
115 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์ต่ำกว่า 12สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2.อัตราการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (Hct 1) ไม่เกินร้อยละ14 4.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 5.อัตราการดูแลหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 6.เด็กแรกเกิดต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 7.ลดภาวะคลอดก่อนกำหนด อย่างน้อยร้อยละ 50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนตุลาคม 2567 (2) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 (3) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 (4) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนธันวาคม 2567 (5) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมกราคม 2568 (6) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่ (โรงเรียนพ่อแม่) ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2568 (7) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2568 (8) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมีนาคม 2568 (9) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนเมษายน 2568 (10) กิจกรรมอบรมความรู้การดูแลสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมโครงการรายใหม่(โรงเรียนพ่อแม่)ประจำเดือน พฤษภาคม 2568 (11) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 (12) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (จ่ายอาหารเสริมสุขภาพนมและไข่) ประจำเดือนมิถุนายน 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กเชิงรุก เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7258-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......