โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
มีนาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-08 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องชีวิตทุกคน ซึ่งโรคมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่นสุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายของสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรค ก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มีนาคม – มิถุนายน ของทุกปี สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัดหรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมวและสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าซึ่ง นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า จากระบบรายงานเฝ้าระวังโรค 506 ปีพ.ศ. 2561 - 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วย 34 ราย (ปี 2566 พบ 5 ราย) เสียชีวิตทั้ง 34 ราย สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 ข้อมูลปี 2561 - 2566 พบผู้ป่วย 6 ราย (ปี 2566 พบ 1 ราย)เสียชีวิตทั้ง 6 ราย เป็นเพศชายทั้งหมด อายุระหว่าง 16 - 65 ปี โดยมีประวัติโดนสุนัขของตนเองและสุนัขไม่มีเจ้าของกัด ผู้เสียชีวิตไม่ฉีดวัคซีนหลังโดนสุนัขกัด และข้อมูลจากนายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ประจำวันที่ 16 กันยายน 2567 ว่ามีการส่งตัวอย่างส่งตรวจสะสมปี 2567 จำนวน 4615 ตัวอย่าง ผลบวกสะสมจำนวน 225 ตัวอย่าง ชนิดสัตว์ที่เกิดโรค แบ่งเป็นสุนัข 193 โค 21 แมว 7 กระบือ 4 โดยมีพื้นที่ที่พบการเกิดโรค 10 จังหวัด 16 จุด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี นครนายก บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ เชียงราย อุตรดิตถ์ พัทลุง และสงขลา
ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานอบรมและรณรงค์ให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ ในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถกระตุ้นให้นักเรียนที่มีสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงที่เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีอยู่ในความดูแล หันมาตระหนักถึงปัญหาของโรคดังกล่าว รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนลดความเสี่ยงของการถูกสุนัข แมวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้และมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าต่อไป ด้วยเหตุนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกจึงกำหนดจัดกิจกรรมโครงการรักน้องๆห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
105
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน
15
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักรับทราบถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคำถาม
50.00
80.00
2
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยง และตนเองให้ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างถูกวิธี จากการตอบแบบประเมิน
60.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
105
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
คณะทำงาน
15
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว
มีนาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-08 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องชีวิตทุกคน ซึ่งโรคมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่นสุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายของสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรค ก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มีนาคม – มิถุนายน ของทุกปี สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัดหรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมวและสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าซึ่ง นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า จากระบบรายงานเฝ้าระวังโรค 506 ปีพ.ศ. 2561 - 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วย 34 ราย (ปี 2566 พบ 5 ราย) เสียชีวิตทั้ง 34 ราย สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 ข้อมูลปี 2561 - 2566 พบผู้ป่วย 6 ราย (ปี 2566 พบ 1 ราย)เสียชีวิตทั้ง 6 ราย เป็นเพศชายทั้งหมด อายุระหว่าง 16 - 65 ปี โดยมีประวัติโดนสุนัขของตนเองและสุนัขไม่มีเจ้าของกัด ผู้เสียชีวิตไม่ฉีดวัคซีนหลังโดนสุนัขกัด และข้อมูลจากนายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ประจำวันที่ 16 กันยายน 2567 ว่ามีการส่งตัวอย่างส่งตรวจสะสมปี 2567 จำนวน 4615 ตัวอย่าง ผลบวกสะสมจำนวน 225 ตัวอย่าง ชนิดสัตว์ที่เกิดโรค แบ่งเป็นสุนัข 193 โค 21 แมว 7 กระบือ 4 โดยมีพื้นที่ที่พบการเกิดโรค 10 จังหวัด 16 จุด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี นครนายก บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ เชียงราย อุตรดิตถ์ พัทลุง และสงขลา ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานอบรมและรณรงค์ให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ ในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถกระตุ้นให้นักเรียนที่มีสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงที่เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีอยู่ในความดูแล หันมาตระหนักถึงปัญหาของโรคดังกล่าว รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนลดความเสี่ยงของการถูกสุนัข แมวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้และมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าต่อไป ด้วยเหตุนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกจึงกำหนดจัดกิจกรรมโครงการรักน้องๆห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 105 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
คณะทำงาน | 15 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักรับทราบถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคำถาม |
50.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยง และตนเองให้ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างถูกวิธี จากการตอบแบบประเมิน |
60.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 105 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
คณะทำงาน | 15 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L6961-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอซีดา เจ๊ะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......