โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย จันธิปะ เลขานุการกองทุนฯ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 305,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (The Community Health Security Fund)"หรือ กองทุนสุขภาพตำบล" ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น “กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น” เรียกโดยย่อว่า “กปท.”เป็นกองทุนที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา13(3) มาตรา 18(4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่
การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่ ได้มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ซึ่งในปีแรกมีองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลนำร่องจัดตั้งกองทุนรวม 888 แห่ง
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 ณ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดให้มีพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระหว่าง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันติบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย ซึ่งทั้งเจ็ดฝ่ายจะร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลร่วมสมทบงบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2567ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้
“การจัดบริการสาธารณสุข” หมายความว่า การจัดบริการในชุมชน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและดำรงชีวิตนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ “การสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความว่า บริการที่มางกระทำเพื่อให้บุคคลมีสุขภาพทางกายและจิตใจที่เข้มแข็ง สมบูรณ์ มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ “การป้องกันโรค” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคแล้ว รวมถึงกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการป้องกันโรค
“การฟื้นฟูสมรรถภาพ” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อแก้ไขปัญหาความบกพร่องของร่างกายและจิตใจ ที่ยังไม่มีหรือสูญเสียไปให้เกิดขึ้น ให้สามารถเรียนรู้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และดำรงชีวิตในสังคมได้ รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพ “การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก” หมายความว่า การจัดบริการหรือการจัดกิจกรรมสาธารณสุข ซึ่งเป็นการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเบื้องต้นในชุมชนและนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการมากขึ้นเพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลจึงจัดทำโครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์
- ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567
- วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567
- ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2567
- พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2568
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568
- ประชุมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
35
ผู้ขอรับงบประมาณกองทนุฯ
80
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดบริการสุขภาพด้วยตนเองได้
- ประชาชนเข้าถึงงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 80
4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เอกสารประกอบการพิจารณาและอนุมัติโครงการ
2.คู่มือการเขียนโครงการบนเว็บไซต์กองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติโครงการจำนวน 3 ครั้ง
อบรมพัฒนาทักษะการเขียนโครงการ จำนวน 2 ครั้ง
0
0
2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.แจ้งประกาศสำนักงานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรถรับส่งผู้ทุพพลภาพ ปี 2567
2.ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนการเงินกองทุน และแผนสุขภาพกองทุน จำนวน 19 แผนงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติแผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2568
อนุมัติแผนานกองทุนฯ จำนวน 19 แผนงาน ได้แก่ แผนงานอนามัยแม่และเด็ก แผนงานโรคเรื้อรัง แผนงานขยะ แผนงานคนพิการ แผนงานยาสูบ แผนงานสุรา แผนงานสารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานผู้สูงอายุ แผนงานเด็ก เยาวชนและครอบครัว แผนงานกลุ่มประชาชนทั้วไปที่มีภาวะเสี่ยง แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด แผนงานสุขภาพจิต แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม แผนงานความปลอดภัยทางถนน แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ แผนงานแรงงานนอกระบบ แผนงานป้องกัน แก้ๆข ปัญหาในสถานการณ์โควิด
25
0
3. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์เครื่อ
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ จำนวน 1 เครื่อง และเครื่องสำรองไฟ จำนวน 1 เครื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีอุปกรณ์คอมพวเตอร์พร้อมในการใช้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
0
0
4. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ทักษะการเขียนโครงการ
การออกแบบโครงการให้สอดคล้องกับกิจกรรม
การคำนวนงบประมาณโครงการ
การบันทึกโครงการบนเว็บไซต์กองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เชิญกลุ่มชุมชน /หน่วยงานในพื้นที่ตำบลพิมาน เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 20 กลุ่ม
0
0
5. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567
วันที่ 18 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 13 โครงการ ผู้รับผิดชอบได้แก่ ศูนย์สุขภาพชุมชนศรีพิมาน ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน โรงเรียนเทศบาล 2 ชมรมแอโรบิคผสมเพื่อสุขภาพ อสม และ เครือข่าย ทม สตูล แอโรบิคลานวัฒนธรรม สถานพยาบาลเรือนจำจังหวัดสตูล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนทักษิณสยาม งานสุขาภิบาลกองสาธารณสุข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณากลั่นกรองโครงการและมีการแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณ เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
0
0
6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.แจ้งขอขยายเวลาดำเนินโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ
2.ขออนุมัติเพิ่มเติมแผน จำนวน 7 โครงการ
3.ขออนุมตัเปลี่ยนแปลงชื่อโครงการ จำนวน 1 โครงการ
4. ขออนุมัติโครงการจำนวน 13 โครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการอนุมัติโครงการ จำนวน 13 โครงการ
0
0
7. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568
วันที่ 28 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับรองรายงานการประชุม LTC ครั้งที่ 1/2567 ลงวันที่ 17 มกราคม 2567
2. รายงานผลการดำเนินงาน CM
3. พิจารณาอนุมัติโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุอละบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 73 คน งบประมาณ 762,266 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุอละบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 73 คน งบประมาณ 762,266 บาทให้แก่ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลเมืองสตูล
0
0
8. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- พัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุนในการเขียนโครงการ
- ออกแบบโครงการ
- การบันทึกโครงการบนเว็บไซต์กองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนหน่วยงาน ชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 กลุ่ม
0
0
9. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568
วันที่ 12 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
พิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 11 โครงการ จากหน่วยงาน/กลุ่ม ได้แก่ เวชกรรมสังคม รพ.สตูล ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนเทศบาล 1 ชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพลีลาศ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ชมรมบาสเกตบอล ชมรมนันทนาการและอนุรักษ์เพลงเก่าผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ปรับปรุงแก้ไขโครงการและงบประมาณบางส่วน จำนวน 11 โครงการ เพื่อรอเสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯต่อไป
0
0
10. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568
วันที่ 26 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อนุมัติแผนงานกองทุน (เพิ่มเติม)
2.ขอเปลี่ยนแปลงชื่อแผนงานโครงการ
3.พิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 11 โครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการประชุมกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2568 วันที่ 26 มีนาคม
2568 มีมติอนุมัติโครงการ ทั้งหมด 11 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 538,880 บาท (ห้าแสนสามหมื่นแปดพันแปดร้อยแปดสิบบาท)
1.โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล รุ่นที่ 7 ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 270,694 บาท
2. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนตำบลพิมานในการป้องกันการจมน้ำ ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 35,585 บาท
3. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ต.พิมาน อ.เมือง จ.สตูล ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 19,235 บาท
4. โครงการเด็กพิมานเท่ห์ หุ่นดี สุขภาพแข็งแรง ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 32,351 บาท
5. โครงการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาภาวะซีดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลพิมาน งบประมาณ 16,400 บาท
6. โครงการขยับกายสบายชีวี โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดสตูลสันตยาราม) งบประมาณ 28,400 บาท
7. โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดีด้วยวิธีแอโรบิคขั้นพื้นฐาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา เทศบาลเมืองสตูล งบประมาณ 25,100 บาท
8. โครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพลีลาศ (ปีที่ 4) งบประมาณ 25,440 บาท
9. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2568 งบประมาณ 34,300 บาท
10. โครงการท่วงทำนองแห่งสุขภาพเสียงเพลงเพื่อดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ งบประมาณ 26,375 บาท
11. โครงการมอบรอยยิ้มให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปี 2568 งบประมาณ 25,000 บาท
0
0
11. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568
วันที่ 10 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 9 โครงการ
1. โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ ชุมชนท่านายเนาว์
2. โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก
3.โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนหลังโรงพัก
4.โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม
5. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพและขลับหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
6. โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568
7. โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568
8. โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน
9. โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจเพศศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2568
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการปรับปรุงโครงการ จำนวน 9 โครงการ เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
0
0
12. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568
วันที่ 29 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนว 11 โครงการ ดังนี้
1. โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ ชุมชนท่านายเนาว์
2. โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก
3.โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนหลังโรงพัก
4.โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม
5. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพและขลับหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
6. โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568
7. โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568
8. โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน
9. โครงการวัยเรียน วัยใส สาใจเพศศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2568
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการประชุมกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2568 วันที่ 29 เมษายน 2568 มีมติอนุมัติโครงการ ทั้งหมด 9 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 326,435 บาท (สามแสนสองหมื่นหกพันสี่ร้อยสามสิบห้าบาทถ้วน) ดังนี้
1. โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ ชุมชนท่านายเนาว์
2. โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก
3.โครงการเฝ้าระวังดูแลช่องปากกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ ชุมชนหลังโรงพัก
4.โครงการเปลี่ยนขยะเป็นปุ๋ยหมักปลูกพืชปลอดสารพิษ วัดชนาธิปเฉลิม
5. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพและขลับหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
6. โครงการส่งเสริมชุมชน ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568
7. โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568
8. โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน
9. โครงการวัยเรียน วัยใส สาใจเพศศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2568
0
0
13. พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ
วันที่ 12 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณในการบันทึกกิจกรรมในระบบเว็บไซต์กองทุนฯ จำนวน 33 โครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมการใช้เว็บไซต์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 45 คน
45
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์
ตัวชี้วัด : สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลให้กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
111.00
80.00
2
ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล มีนวตกรรมอย่างน้อย 1 ผลงาน ในปีงบประมาณ 2568
0.00
1.00
3
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
ตัวชี้วัด : มีช่องทางและข้อมูลข่าวสารในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานกองทุนฯ อย่างน้อย 3 ช่องทาง เช่น เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เสียงตามสาย จัดทำคู่มือการขอรับงบประมาณกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ วีดีทัศน์แนะนำการดำเนินงานกองทุนฯ ฯลฯ
2.00
3.00
4
เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : 4.1 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง
4.2 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณกองทุน อย่างน้อย 1 ครั้ง
2.00
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
115
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
35
ผู้ขอรับงบประมาณกองทนุฯ
80
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ (2) ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข (3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (4) เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567 (2) วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร (3) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567 (5) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2567 (6) พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ (7) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (8) จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (9) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568 (11) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2 (12) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (13) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568 (14) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568 (15) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567 (16) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568 (17) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2568 (18) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ (19) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568 (20) ประชุมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (21) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2568 (22) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2568 (23) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567 (24) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 รหัสสัญญา 1/2568 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพรชัย จันธิปะ เลขานุการกองทุนฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย จันธิปะ เลขานุการกองทุนฯ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 305,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (The Community Health Security Fund)"หรือ กองทุนสุขภาพตำบล" ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น “กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น” เรียกโดยย่อว่า “กปท.”เป็นกองทุนที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา13(3) มาตรา 18(4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่
การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่ ได้มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ซึ่งในปีแรกมีองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลนำร่องจัดตั้งกองทุนรวม 888 แห่ง
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 ณ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดให้มีพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระหว่าง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันติบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย ซึ่งทั้งเจ็ดฝ่ายจะร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลร่วมสมทบงบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2567ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้
“การจัดบริการสาธารณสุข” หมายความว่า การจัดบริการในชุมชน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและดำรงชีวิตนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ “การสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความว่า บริการที่มางกระทำเพื่อให้บุคคลมีสุขภาพทางกายและจิตใจที่เข้มแข็ง สมบูรณ์ มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ “การป้องกันโรค” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคแล้ว รวมถึงกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการป้องกันโรค
“การฟื้นฟูสมรรถภาพ” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อแก้ไขปัญหาความบกพร่องของร่างกายและจิตใจ ที่ยังไม่มีหรือสูญเสียไปให้เกิดขึ้น ให้สามารถเรียนรู้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และดำรงชีวิตในสังคมได้ รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพ “การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก” หมายความว่า การจัดบริการหรือการจัดกิจกรรมสาธารณสุข ซึ่งเป็นการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเบื้องต้นในชุมชนและนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการมากขึ้นเพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลจึงจัดทำโครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์
- ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567
- วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567
- ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2567
- พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2568
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568
- ประชุมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2568
- ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 35 | |
ผู้ขอรับงบประมาณกองทนุฯ | 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดบริการสุขภาพด้วยตนเองได้
- ประชาชนเข้าถึงงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 80
4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เอกสารประกอบการพิจารณาและอนุมัติโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติโครงการจำนวน 3 ครั้ง
|
0 | 0 |
2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567 |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.แจ้งประกาศสำนักงานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรถรับส่งผู้ทุพพลภาพ ปี 2567 2.ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนการเงินกองทุน และแผนสุขภาพกองทุน จำนวน 19 แผนงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติแผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2568
|
25 | 0 |
3. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์เครื่อ |
||
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ จำนวน 1 เครื่อง และเครื่องสำรองไฟ จำนวน 1 เครื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีอุปกรณ์คอมพวเตอร์พร้อมในการใช้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
|
0 | 0 |
4. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ทักษะการเขียนโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเชิญกลุ่มชุมชน /หน่วยงานในพื้นที่ตำบลพิมาน เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 20 กลุ่ม
|
0 | 0 |
5. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567 |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 13 โครงการ ผู้รับผิดชอบได้แก่ ศูนย์สุขภาพชุมชนศรีพิมาน ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมาน โรงเรียนเทศบาล 2 ชมรมแอโรบิคผสมเพื่อสุขภาพ อสม และ เครือข่าย ทม สตูล แอโรบิคลานวัฒนธรรม สถานพยาบาลเรือนจำจังหวัดสตูล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนทักษิณสยาม งานสุขาภิบาลกองสาธารณสุข ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณากลั่นกรองโครงการและมีการแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณ เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
|
0 | 0 |
6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568 |
||
วันที่ 10 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.แจ้งขอขยายเวลาดำเนินโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการอนุมัติโครงการ จำนวน 13 โครงการ
|
0 | 0 |
7. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568 |
||
วันที่ 28 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับรองรายงานการประชุม LTC ครั้งที่ 1/2567 ลงวันที่ 17 มกราคม 2567 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุอละบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงจำนวน 73 คน งบประมาณ 762,266 บาทให้แก่ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลเมืองสตูล
|
0 | 0 |
8. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนหน่วยงาน ชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 กลุ่ม
|
0 | 0 |
9. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568 |
||
วันที่ 12 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 11 โครงการ จากหน่วยงาน/กลุ่ม ได้แก่ เวชกรรมสังคม รพ.สตูล ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนเทศบาล 1 ชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพลีลาศ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ชมรมบาสเกตบอล ชมรมนันทนาการและอนุรักษ์เพลงเก่าผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นปรับปรุงแก้ไขโครงการและงบประมาณบางส่วน จำนวน 11 โครงการ เพื่อรอเสนอที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯต่อไป
|
0 | 0 |
10. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568 |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อนุมัติแผนงานกองทุน (เพิ่มเติม) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประชุมกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2568 วันที่ 26 มีนาคม
|
0 | 0 |
11. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568 |
||
วันที่ 10 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 9 โครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการปรับปรุงโครงการ จำนวน 9 โครงการ เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
|
0 | 0 |
12. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568 |
||
วันที่ 29 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนว 11 โครงการ ดังนี้
1. โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ ชุมชนท่านายเนาว์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประชุมกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2568 วันที่ 29 เมษายน 2568 มีมติอนุมัติโครงการ ทั้งหมด 9 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 326,435 บาท (สามแสนสองหมื่นหกพันสี่ร้อยสามสิบห้าบาทถ้วน) ดังนี้
|
0 | 0 |
13. พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ |
||
วันที่ 12 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณในการบันทึกกิจกรรมในระบบเว็บไซต์กองทุนฯ จำนวน 33 โครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมการใช้เว็บไซต์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 45 คน
|
45 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ตัวชี้วัด : สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลให้กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
111.00 | 80.00 |
|
|
2 | ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล มีนวตกรรมอย่างน้อย 1 ผลงาน ในปีงบประมาณ 2568 |
0.00 | 1.00 |
|
|
3 | ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ตัวชี้วัด : มีช่องทางและข้อมูลข่าวสารในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานกองทุนฯ อย่างน้อย 3 ช่องทาง เช่น เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เสียงตามสาย จัดทำคู่มือการขอรับงบประมาณกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ วีดีทัศน์แนะนำการดำเนินงานกองทุนฯ ฯลฯ |
2.00 | 3.00 |
|
|
4 | เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ตัวชี้วัด : 4.1 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง 4.2 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณกองทุน อย่างน้อย 1 ครั้ง |
2.00 | 3.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 115 | 0 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 35 | ||
ผู้ขอรับงบประมาณกองทนุฯ | 80 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ (2) ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข (3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (4) เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567 (2) วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร (3) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567 (5) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2567 (6) พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ (7) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (8) จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (9) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568 (11) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2 (12) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (13) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568 (14) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568 (15) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567 (16) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568 (17) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2568 (18) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ (19) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568 (20) ประชุมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล (21) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2568 (22) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2568 (23) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567 (24) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 รหัสสัญญา 1/2568 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01 รหัสสัญญา 1/2568 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพรชัย จันธิปะ เลขานุการกองทุนฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......