โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 ”
เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนะ กาซอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568
ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 68-L6961-1-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ คือ โรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรค ซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน โรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ทำให้เชื้อโรคมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว และสามารถแพร่ระบาดได้ง่าย เช่น โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ และโรคติดต่ออื่นๆ อีกทั้งสภาพสังคม สภาพบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้น และการอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น การเดินทางติดต่อไปมาที่สะดวกและรวดเร็วล้วนเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อที่เพิ่มมากขึ้น และเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดในวงกว้าง ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้เครือข่ายอำเภอจัดตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เพื่อเป็นทีมหลักในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค
ในปี 2567 จังหวัดนราธิวาสมีรายงานการพบผู้ป่วยโรคติดต่อที่สำคัญ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 151.61 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2567) โรคหัด 100.23 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2567) อำเภอสุไหงโก-ลก มีรายงานการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 64.99 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2567) และโรคหัด อัตราป่วย 144.77 ต่อประชากรแสนคน และยังพบโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคอาหารเป็นพิษ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันโรคจะต้องดำเนินการอย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ เพื่อที่จะสามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดอุบัติการของโรค และควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้างได้ งานควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำในการเฝ้าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน สามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคล และชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ
- เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่
80
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะเรื่องโรคติดต่อสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
- แกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
60.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำในการเฝ้าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน จำนวน 31 ชุมชน
32.00
32.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่
80
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ (2) เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 68-L6961-1-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวไซนะ กาซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 ”
เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนะ กาซอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 68-L6961-1-27 เลขที่ข้อตกลง 23/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ คือ โรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรค ซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน โรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ทำให้เชื้อโรคมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว และสามารถแพร่ระบาดได้ง่าย เช่น โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ และโรคติดต่ออื่นๆ อีกทั้งสภาพสังคม สภาพบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้น และการอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น การเดินทางติดต่อไปมาที่สะดวกและรวดเร็วล้วนเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อที่เพิ่มมากขึ้น และเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดในวงกว้าง ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายให้เครือข่ายอำเภอจัดตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เพื่อเป็นทีมหลักในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค
ในปี 2567 จังหวัดนราธิวาสมีรายงานการพบผู้ป่วยโรคติดต่อที่สำคัญ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 151.61 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2567) โรคหัด 100.23 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2567) อำเภอสุไหงโก-ลก มีรายงานการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 64.99 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2567) และโรคหัด อัตราป่วย 144.77 ต่อประชากรแสนคน และยังพบโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคอาหารเป็นพิษ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันโรคจะต้องดำเนินการอย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ เพื่อที่จะสามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดอุบัติการของโรค และควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้างได้ งานควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำในการเฝ้าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน สามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคล และชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ
- เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ | 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะเรื่องโรคติดต่อสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
- แกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
60.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำในการเฝ้าระวัง สอบสวนเคลื่อนที่เร็วในชุมชน จำนวน 31 ชุมชน |
32.00 | 32.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ | 80 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคติดต่อ (2) เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นแกนนำเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว มีความพร้อมในการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันควบคุมโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และภัยสุขภาพในชุมชน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 จังหวัด กรุงเทพมหานคร
รหัสโครงการ 68-L6961-1-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวไซนะ กาซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......