โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกโตนด
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกโตนด |
รหัสโครงการ | 68-L3062-001-008 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านโคกโตนด |
วันที่อนุมัติ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 18,755.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวฟาตีมะห์ หะมิงมะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 9.00 | ||
2 | ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 19.00 | ||
3 | ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน | 2.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การเร่งรีบ การแข่งขันในการทำงาน การบริโภคอาหารไม่คำนึงถึงหลักโภชนาการที่ร่างกายจำเป็นต้องนำไปใช้ จากการสำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนด พบว่า มีจำนวน 860 คน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 726 คน พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 12 คน กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 34 คน และกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 6 คน สำหรับสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนด ปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาพบผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 51 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 139 คน พบผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน จำนวน 4 คน และจากโรคความดันโลหิตสูง 2 คน จากข้อมูลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนด มีความตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มนี้ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกโตนดขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
30.00 | 24.00 |
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 |
0.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 18,755.00 | 0 | 0.00 | |
9 ม.ค. 68 | อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | 0 | 6,005.00 | - | ||
13 ม.ค. 68 - 28 ก.พ. 68 | อาสาสมัครประจำหมู่บ้านออกหน่วยคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอาุย 35 ปีขึ้นไป | 0 | 5,400.00 | - | ||
6 มี.ค. 68 | อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง | 0 | 7,350.00 | - | ||
8 พ.ค. 68 - 10 ก.ค. 68 | ติดตามกลุ่มเสี่ยง 1 เดือน และ 2 เดือน โดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน | 0 | 0.00 | - | ||
14 ก.ค. 68 - 8 ส.ค. 68 | ส่งกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่ถูกต้องจากแพทย์ | 0 | 0.00 | - |
1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.ร้อยละ 80 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ร้อยละ 100
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2567 00:00 น.