โครงการพลัง อึด ฮึด สู้ เพื่อชีวิตที่ดีกว่า ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการพลัง อึด ฮึด สู้ เพื่อชีวิตที่ดีกว่า ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L6961-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | งานสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก |
วันที่อนุมัติ | 19 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 24,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพนิดา วรรณวงศ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันพบว่าการเปลี่ยนแปลงและความเจริญทางด้านวัตถุ สังคม และเศรษฐกิจ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วความสัมพันธ์ในครอบครัว ชุมชน ลดน้อยลง ประกอบกับภัยพิบัติต่างๆที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะภัยพิบัติน้ำมือมนุษย์หรือภัยธรรมชาติ การคมนาคม หรือชีวิตประจำวันที่ต้องเร่งรีบส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำ หากไม่สามารถปรับตัวได้กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อาจส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพจิตระยะยาวและทำให้เกิดโรคทางจิตเวชได้ เช่น โรคเครียด โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โดยเฉพาะโรคซึมเศร้าหากได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ที่ถูกต้อง จะทำให้การดำเนินของโรคดีขึ้นแต่หากไม่ได้รับการดูแล ช่วยเหลือที่ถูกต้องส่งผลให้ผู้ป่วยทำร้ายตัวเองสำเร็จได้
จากการให้บริการคลินิกจิตเวช พบว่า ผู้มารับบริการที่มาด้วยโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่ในปี 2565-2567 ดังนี้ปี 2565 มีจำนวน 357 คน (รายใหม่ 143 คน) (สุไหงโก-ลก 149 คน) , ปี 2566 มีจำนวน 393 คน (รายใหม่ 182 คน) (สุไหงโก-ลก 156 คน) และในปี 2567 มีจำนวน 434 คน (รายใหม่ 224 คน) (สุไหงโก-ลก 161 คน) ตามลำดับส่วนในผู้ป่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ในปี 2565-2567 ดังนี้ปี 2565 มีจำนวน 60 คน (รายใหม่ 33 คน) (สุไหงโก-ลก 18 คน) , ปี 2566 มีจำนวน 110 คน (รายใหม่ 52 คน) (สุไหงโก-ลก 40 คน) และในปี 2567 มีจำนวน 120 คน (รายใหม่ 48 คน) (สุไหงโก-ลก 38 คน) ตามลำดับ ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี กลุ่มงานการพยาบาลจิตเวช ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง โรคซึมเศร้า ผู้ป่วยและญาติ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
40.00 | 70.00 |
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยซึมเศร้าไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำภายใน 1 ปี เพื่อให้ผู้ป่วยซึมเศร้าไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำภายใน 1 ปีมากกว่าร้อยละ 90 |
50.00 | 90.00 |
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยซึมเศร้าได้รับการประเมินซึมเศร้ามีระดับคะแนนดีขึ้นในช่วง 6/12 ปี ผู้ป่วยซึมเศร้าได้รับการประเมินซึมเศร้ามีระดับคะแนนดีขึ้นในช่วง 6/12 ปี มากกว่าร้อยละ 50 |
30.00 | 50.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 24,600.00 | 1 | 24,600.00 | |
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตในเรื่องโรคซึมเศร้า ฝึกปฏิบัติการผ่อนคลายความเครียด | 0 | 24,600.00 | ✔ | 24,600.00 |
- ผู้ป่วยและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง โรคซึมเศร้า
- ผู้ป่วยซึมเศร้าไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำภายใน 1 ปี
- ผู้ป่วยซึมเศร้าได้รับการประเมินซึมเศร้ามีระดับคะแนนดีขึ้นในช่วง 6/12 ปี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2567 14:58 น.