กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป


“ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ”

ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮูไซพะการะมีแน

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-005-711-721-731 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-005-711-721-731 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่สำคัญ จากรายงานการสำรวจภาวะโภชนาการเด็กไทย อายุ 6 เดือน – 12 ปี พ.ศ. 2553 – 2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey เด็กปฐมวัย (6 เดือน – 5 ปี) พบความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 22.4 โดยพบความชุกโลหิตจางสูงในเขตชนบท ร้อยละ 26.5 เขตเมือง ร้อยละ 13.4 เด็กวัยเรียน (6 – 12 ปี) พบความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 10.4 โดยพบความชุกโลหิตจางสูงในเขตชนบท ร้อยละ 12.2 เขตเมือง ร้อยละ 6.6 และจากการสำรวจโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2547–2553 ของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พบว่า ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มความชุกโลหิตจางสูงขึ้น พ.ศ. 2553 หญิงตั้งครรภ์ มีความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 18.4 และจากการรายงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552 พบความชุกโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 15–45 ปี) ร้อยละ 24.8 แนวโน้มความชุกโลหิตจาง ในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อายุมากกว่า 60 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยพบความชุกโลหิตจาง ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60–69 ปี ร้อยละ 34.5 กลุ่มผู้สูงอายุ 70–79 ปี ร้อยละ 48.4 และกลุ่มผู้สูงอายุมากกว่า 80 ปี ร้อยละ 60.7 ตามลาดับโดยภาพรวมของสถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของประเทศไทย มีผลกระทบต่อประชาชนไทยทุกกลุ่มวัย ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาศักยภาพของประชากรไทยในระยะยาว กรมอนามัย โดยสำนักโภชนาการ ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในประชาชนไทย โดยมีมาตรการเสริมยาธาตุเหล็กเชิงป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในประชากรกลุ่มเสี่ยง และมาตรการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กนั้น จากการดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กที่ผ่านมา พบว่า สถานการณ์ปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากยังขาดการสื่อสารเชิงนโยบายการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ทำให้นโยบายระดับจังหวัด ในการดำเนินงานดังกล่าวยังไม่เป็นรูปธรรม ร่วมกับประชาชนยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของธาตุเหล็กกับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กซึ่งมุ่งหวังให้ประชาชนไทยทุกกลุ่มวัยได้รับธาตุเหล็กอย่างเพียงพออันจะนำไปสู่สมรรถนะทางสติปัญญาและทางร่างกายอย่างเต็มศักยภาพของประชาชนไทย เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าขาดธาตุเหล็กทำให้กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและโภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก กระทรวงสาธารณสุขมีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโปอำเภอเมืองจังหวัดยะลาได้เห็นความสำคัญของภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงมีครรภ์จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์เพื่อเป็นการค้นหา และรักษาก่อนการตั้งครรภ์เป็นลดภาวะเสี่ยงในระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดและ และสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่ายยาและอาหารเสริม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 298
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด 2 หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการเจาะเลือดออดเพื่อคัดกรองภาวะซีด 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่ายยาและอาหารเสริม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการ ตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดและ และสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด

     

    2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่ายยาและอาหารเสริม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์ทุกคนที่มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่ายยาและอาหารเสริม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 358
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 298
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีดและ และสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่ายยาและอาหารเสริม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอดและหลังคลอด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-005-711-721-731

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮูไซพะการะมีแน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด