กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ”

หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดารา ช่วยเรือง

ชื่อโครงการ โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร(2) เพื่อให้เป็นโรงเรียน/ชุมชน ต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร (No Foam)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย/โรงเรียน/สถานที่ราชการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา(2) จัดอบรมแกนนำในการประชาสัมพันธ์การเลิกใช้โฟม จำนวน 60 คน เพื่อให้มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายของการใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ร่วมกันจึงทำนโยบายของชุมชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกใช้วัสดุบรรจุอาหารแทนโฟมที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น จาน กล (3) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร /สติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” ติดในหมู่บ้าน/โรงเรียน/สถานที่ราชการ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา (4) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลดป้วย ลดโฟม ลดโลกร้อน (5) มอบป้าย "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปหลายๆด้าน ประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ส่งผลให้การประกอบอาหารด้วยตนเองลดน้อยลง ประชาชนหันมาพึ่งพาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารแทน ซึ่งแม้จะมีโครงการตรวจร้านอาหารเชิงบูรณาการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste (CFGT) แล้วก็ตาม แต่กระนั้นแล้วก็ยังพบพิษภัยสารเคมีที่เป็นอันตรายปนเปื้อนแฝงมากับอาหารสู่ผู้บริโภคผ่านภาชนะบรรจุอาหารประเภท “โฟม” ที่ตามร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารนิยมใช้กล่องโฟม เป็นภาชนะบรรจุอาหารและใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากสะดวก ราคาถูก และหาซื้อได้ง่าย แต่หารู้ไม่ว่าในโฟมมีสารพิษสำคัญชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง คือ สารสไตรีน (styrene) และ เบนซิน (Benzene) ที่มีส่วนในการทำลายไขกระดูก ทำลายตับ และไต มีผลต่อประสาทส่วนกลางและส่วนปลายที่ทำให้การเคลื่อนไหวและการทรงตัวไม่ดี ความจำเสื่อม สมาธิสั้น และเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ หากได้รับสารเหล่านี้เข้าไปในร่างกายเป็นเวลานาน จะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งต่างๆ นอกจากโฟมมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนแล้ว โฟมก็ยังส่งผลกระทบก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม จากการสำรวจปริมาณขยะตั้งแต่ปี 2552-2556ของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าขยะประเภทโฟมมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 34 ล้านใบต่อวันเป็น 61 ล้านใบต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1 ใบต่อคนต่อวัน โดยเฉพาะในสถานที่หรือในเขตที่มีประชาชนอาศัยอยู่จำนวนมาก จะพบว่ามีขยะประเภทโฟมมากกว่าปกติ ซึ่งโฟมเป็นขยะที่มีความคงทน และใช้เวลาในการย่อยสลายนานกว่า 100 ปี จึงสร้างปัญหาในการกำจัด เนื่องจากต้องใช้พลังงาน ต้นทุนการกำจัดสูงเปลืองพื้นที่ฝั่งกลบ และกระบวนการกำจัดขยะโฟมทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน และยังส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย
จากปัญหาดังกล่าว ชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ขึ้นเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน และได้เชิญชวนประชาชน ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารร่วมรณรงค์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงจากการรับสารพิษ และสารก่อมะเร็งจากภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และมาเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ปลอดภัย ทดแทน คือ “ภาชนะที่ทำจากเยื่อพืชและสีธรรมชาติ” หรือเรียกอีกอย่างว่า “ภาชีวะ” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากสารเคมี และปลอดภัยกับสุขภาพครบทุกมุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการนำไปใส่อาหาร นอกจากนี้ ยังสามารถนำภาชีวะเข้าตู้อบไมโครเวฟอุ่นอาหารได้ด้วย โดยจะไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายเข้าไปในอาหาร เพราะผลิตภัณฑ์คือเยือพืชธรรมชาติทั้งหมด นอกจากนี้เมื่อใช้เสร็จ เพียงแค่นำภาชีวะไปฝังกลบในดิน ภาชีวะก็จะย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ยภายใน 1 เดือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  2. เพื่อให้เป็นโรงเรียน/ชุมชน ต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร (No Foam)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลดป้วย ลดโฟม ลดโลกร้อน
  2. จัดอบรมแกนนำในการประชาสัมพันธ์การเลิกใช้โฟม จำนวน 60 คน เพื่อให้มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายของการใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ร่วมกันจึงทำนโยบายของชุมชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกใช้วัสดุบรรจุอาหารแทนโฟมที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น จาน กล
  3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร /สติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” /ป้ายโฟมบอร์ด "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร" ติดในหมู่บ้าน/โรงเรียน/สถานที่ราชการ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
  4. ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย/โรงเรียน/สถานที่ราชการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
  5. มอบป้าย "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ด้านสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพกับการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ในระดับหนึ่ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร /สติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” /ป้ายโฟมบอร์ด "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร" ติดในหมู่บ้าน/โรงเรียน/สถานที่ราชการ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

วันที่ 11 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร จำนวน 6 ป้าย
  2. สติ๊กเกอร์ “Say No To Foam”  จำนวน 300 แผ่น
  3. ป้ายโฟมบอร์ด "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร" จำนวน 5 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ติดป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ในหมู่บ้านหมู่ละ 2 ป้าย ใน โรงเรียน 2 ป้าย
  2. แจกสติ๊กเกอร์ “Say No To Foam”  จำนวน 300 แผ่น ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอนอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
  3. มอบป้ายโฟมบอร์ด "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร" จำนวน 5 ป้าย ให้แก่ร้านอาหาร/แผงลอย ที่ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร

 

311 0

2. จัดอบรมแกนนำในการประชาสัมพันธ์การเลิกใช้โฟม จำนวน 60 คน เพื่อให้มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายของการใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ร่วมกันจึงทำนโยบายของชุมชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกใช้วัสดุบรรจุอาหารแทนโฟมที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น จาน กล

วันที่ 18 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแกนนำในการประชาสัมพันธ์การเลิกใช้โฟม จำนวน 60 คน เพื่อให้มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายของการใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ร่วมกันจึงทำนโยบายของชุมชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกใช้วัสดุบรรจุอาหารแทนโฟมที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น จาน กล่องใช้ใส่อาหารตามสั่ง ถ้วยที่ใช้ใส่น้ำแข็งใส ซึ่งทำจากซานอ้อย และแป้งมันสำปะหลัง และกล่องพลาสติกใสที่ไม่ใช้โฟม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561

ชื่อหมู่ที่บ้าน                                               เป้าหมาย (คน)                             ผู้เค้าร่วมโครงการ (คน)                           คิดเป็นร้อยละ

หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน                               60                                                 83                                               100.00

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561

จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561 โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 คน มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 83 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561

ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม                                                                                 คะแนนเต็ม                                   คะแนนต่ำสุด                               คะแนนสูงสุด                           ค่าเฉลี่ย

ก่อนการอบรมความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม                             100                                         71                                               88                                     79.5

หลังการอบรมความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม                             100                                                86                                               96                                       91

ที่มา : ข้อมูลจากการทำแบบทดสอบก่อนหลังเข้าร่วมโครงการที่นำมาประมวลผลแล้ว

จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่าหลังเข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นจาก 79.5 เป็น 91 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับดีมาก

 

60 0

3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลดป้วย ลดโฟม ลดโลกร้อน

วันที่ 25 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้แกนนำชุมชน รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยการแจกสติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” /ป้ายโฟมบอร์ด “ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร” ในโรงเรียน/สถานที่ราชการ/ร้านอาหาร/แผงลอย ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 2 หมู่บ้าน 1 โรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยการแจกสติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” และแผ่นพับให้ความรู้อันตรายจากโฟมบรรจุอาหาร ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
  2. ติดป้ายไวนิล ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร ตามสถานที่สำคัญใน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา 

 

0 0

4. มอบป้าย "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร"

วันที่ 1 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

มอบป้ายโฟมบอร์ด "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหารจำนวน 5 ร้าน  ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายชื่อร้านอาหาร/แผงลอย ที่เข้าร่วมกิจกรรม “ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร” ภายใต้โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561

  1. ร้านขนมจีนแม่ปลื้ม 116/1 หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาเจ้าของร้าน นางปลื้ม สุดเหลือ

  2. ร้านผัดไทย 116/1 หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาเจ้าของร้าน นายทวิช สุดเหลือ

  3. ร้านอาหารตามสั่งป้าเหิม 114/2 หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาเจ้าของร้าน นางจิตติกา แก้วศรีมาก

  4. ร้านอาหารตามสั่งพี่ยม 112/17 หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลาเจ้าของร้าน นางสุพร ชูจิตร

  5. ร้านก๋วยเตี๋ยว/อาหารตามสั่งพี่ตุ๊กกี้ 13/2 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เจ้าของร้าน นางชีวานันท์ ธนนิมิตร

ที่มา : ทะเบียนรายชื่อร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่วยอาหารที่เข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ปีงบประมาณ 2561

สรุป ร้านอาหาร/แผงลอย ที่เข้าร่วมกิจกรรม “ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร” ภายใต้โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561 โดยมีกลุ่มเป้าหมายในโครงการจำนวน 5 ร้าน และมีร้านที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100

 

5 0

5. ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย/โรงเรียน/สถานที่ราชการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

วันที่ 19 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย/โรงเรียน/สถานที่ราชการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา  ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย  จำนวน 5 ร้าน
2. โรงเรียน  1 แห่ง 3.หมู่บ้าน 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

 

6 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร เพิ่มขึ้นหลังจากเข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อนจาก 79.5 เป็น 91

  2. เกิดนโยบายชุมชนปลอดโฟมขึ้นในหมู่บ้านทั้ง 2 หมู่บ้าน โดยมีผู้นำหมู่บ้านและแกนนำสุขภาพเป็นผู้ขับเคลื่อนนโยบาย

  3. โรงเรียนในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา มีการประกาศนโยบาย “โรงเรียนปลอดโฟม” 1 โรงเรียนคือโรงเรียนบ้านรับแพรก

  4. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา สมัครเข้าร่วมกิจกรรม “ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร” จำนวน 5 ร้าน

5.โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร ร้อยละ 90
90.00 91.00

จะเห็นได้ว่าหลังเข้าร่วมโครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด ปีงบประมาณ 2561 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นจาก 79.5 เป็น 91 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับดีมาก

2 เพื่อให้เป็นโรงเรียน/ชุมชน ต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร (No Foam)
ตัวชี้วัด : ชุมชน/โรงเรียน มีนโยบายการประกาศ เป็นชุมชน/โรงเรียนปลอดโฟม อย่างน้อย 1 แห่ง
8.00 8.00
  1. ร้านอาหาร/แผงลอย ที่เข้าร่วมกิจกรรม “ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร” ภายใต้โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2561 โดยมีกลุ่มเป้าหมายในโครงการจำนวน 5 ร้าน และมีร้านที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 100
  2. ชุมชนประกาศ นโยบายชุมชนปลอดโฟม 2 หมู่บ้าน
  3. โรงเรียนประกาศนโยบายองค์กรปลอดโฟม 1 โรงเรียน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร(2) เพื่อให้เป็นโรงเรียน/ชุมชน ต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร (No Foam)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามเยี่ยมร้านอาหารแผงลอย/โรงเรียน/สถานที่ราชการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา(2) จัดอบรมแกนนำในการประชาสัมพันธ์การเลิกใช้โฟม จำนวน 60 คน เพื่อให้มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายของการใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ร่วมกันจึงทำนโยบายของชุมชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกใช้วัสดุบรรจุอาหารแทนโฟมที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น จาน กล (3) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร /สติ๊กเกอร์ “Say No To Foam” ติดในหมู่บ้าน/โรงเรียน/สถานที่ราชการ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา (4) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลดป้วย ลดโฟม ลดโลกร้อน (5) มอบป้าย "ร้านนี้ห่วงใยลูกค้าไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

จากการดำเนินโครงการลดป่วย ลดโฟม ลดโรคร้อน พบว่าในส่วนของการกำหนดนโยบายชุมชนปลอดโฟม ยังมีแม่ค้ารถเร่ ที่นำของมาขายในพื้นที่ซึ้งยากต่อการควบคุมได้เนื่องจากรถที่มาขายไม่ได้เป็นคนในพื้นที่

แม่ค้ารถเร่ ที่นำของมาขายในพื้นที่ซึ้งยากต่อการควบคุมได้เนื่องจากรถที่มาขายไม่ได้เป็นคนในพื้นที่

จากปัญหาอุปสรรคที่พบทางผู้จัดโครงการคิดว่าคงจะต้องใช้วิธีรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องในพื้นที่


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-02 ระยะเวลาโครงการ 20 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 พฤษภาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหารเพิ่มขึ้น

แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม

อบรมฟื้นฟูความรู้ทุกปีและขยายไปยังชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ลดอัตราการใช้โฟมบรรจุอาหาร

สุ่มสำรวจ

รณรงค์ผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

มีมาตรการลดโฟมในชุมชน

มาตรการทางสังคมที่สังคมกำหนดเองจากการประชาคม

ติดตามผลลัพธิ์ต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ไม่ใช้โฟมในวัดและร้านค้าในชุมชน

มาตรการทางสังคม

สำรวมและกระตุ้นการควบคุมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีการประชาคมหมู่บ้านโดยแกนนำสุขภาพในการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร ในหมู่บ้าน

ประกาศนโยบายชุมชนปลอดโฟมลงนามโดยผู้นำชุมชน

ขยายไปยังชุมชนและองค์กรณ์ใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มาตรการลดโฟมในหมู่บ้าน

มาจากการประชาคม

ทำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการลดโฟม ลดป่วย ลดโลกร้อน ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารา ช่วยเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด