กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568 ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง




ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5205-01-04 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด ซึ่งได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศ ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ ตำบลคลองหรัง เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 3 ปีย้อนหลังมีแนวโน้มที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ใน ปีพ.ศ.๒๕65 อัตราป่วย เท่ากับ 22.49 (1 ราย)ปีพ.ศ. ๒๕66 อัตราป่วย เท่ากับ 539.81(24 ราย) ปีพ.ศ.2567 เดือนมกราคม-สิงหาคม อัตราป่วย เท่ากับ 324.74 (16 ราย) ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ (ที่มา : ระบบสารสนเทศโรคที่ต้องเฝ้าระวัง อำเภอนาหม่อม) ไม่มีผู้ป่วยตายด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลคลองหรัง จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยในปี 2566-2567 สูงกว่าเกณฑ์ระดับแระเทศ(50ต่อแสนประชากร) ในการควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ปัจจุบันในตำบลคลองหรัง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก มีผู้ป่วยเกินเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและอัตราป่วยลดลงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน วัดอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้องเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค ไข้ เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมรณรงค์
  3. 1.1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่แก่ อสม.ผู้นำชุมชน และตัวแทนครัวเรือน 6 หมู่บ้านๆ 30 คน จำนวน 2 รุ่น รวมทั้งหมด 180 คน
  4. 1.2 อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนอาสาปราบลูกน้ำยุงลาย 2 โรงเรียน จำนวน 60 คน
  5. 2.1 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ โดยการทำ Big Cleaning Day หมู่บ้านละ 1 ครั้ง จำนวน 6 ครั้ง
  6. 2.2 ประเมินค่า HI CI โดยคณะกรรมการระดับตำบลหมู่บ้านละ1 ครั้ง/ปี จำนวน 6 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของมัธยฐาน
  2. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน วัด โรงเรียนให้น้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : - อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของมัธยฐาน
10.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน วัดอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : - ค่า HI CI ในโรงเรียนเท่ากับ 0 - วัด,ชุมชน น้อยกว่าร้อยละ 10
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้องเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค ไข้ เลือดออก
ตัวชี้วัด : - ประชาชนกลุ่มกลุ่มแกนนำประจำครอบครัว อาสาสมัครปราบลูกน้ำยุงลาย อสม. มีความรู้ที่ถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) ข้อที่ 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน  ชุมชน วัดอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้องเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค  ไข้ เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมรณรงค์ (3) 1.1 อบรมให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่แก่ อสม.ผู้นำชุมชน และตัวแทนครัวเรือน 6 หมู่บ้านๆ 30 คน จำนวน 2 รุ่น  รวมทั้งหมด 180 คน (4) 1.2 อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนอาสาปราบลูกน้ำยุงลาย 2 โรงเรียน จำนวน 60 คน (5) 2.1 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ โดยการทำ Big Cleaning Day หมู่บ้านละ 1 ครั้ง จำนวน 6 ครั้ง (6) 2.2 ประเมินค่า HI CI โดยคณะกรรมการระดับตำบลหมู่บ้านละ1 ครั้ง/ปี  จำนวน 6 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ปี 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5205-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด