โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-05 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกอีกย่างว่า NCDs (Non-Communicable Diseases) เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อและไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คน โดยจะมีการดำเนินโรคอย่างช้า ๆ จนโรคมีความรุนแรงมากขึ้นและกลายเป็นอาการเรื้อรัง ซึ่งปัญหาของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจนเกิดเป็นปัญหาสุขภาพทั่วโลก หากมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมองตีบ เป็นต้น (อุไรวรรณ สาสังข์ และคณะ, 2565) ประเทศไทยมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม โดยปี 2562 พบว่า ประชากรในประเทศไทยบริโภคโซเดียมเฉลี่ย 3,636 มิลลิกรัม หรือเท่ากับเกลือถึง 1.8 ช้อนชา ซึ่งมีปริมาณเกินกว่าที่องค์การอนามัยโลก แนะนำ 1.5-2 เท่า และยังไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง นอกจากนี้ พบว่า ภาคใต้มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในการบริโภคโซเดียมอยู่ที่ 4,107.8 มิลลิกรัม/วัน/คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับโซเดียมจากการรับประทานอาหาร แบ่งออกเป็น การเติมขณะปรุงอาหารร้อยละ 71 อาหารตามธรรมชาติร้อยละ 18 การปรุงรสเพิ่มบนโต๊ะอาหารร้อยละ 11 (กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2566) การบริโภคเกลือและโซเดียมมากเกินไปจะส่งผลให้ร่างกายเกิดภาวะความดัน
โลหิตสูง ซึ่งสัมพันธ์กับข้อมูลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายในปี 2562 พบจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงประมาณ 14 ล้านคน (ร้อยละ 25.4) เท่ากับ 1 ใน 4 ของคนไทย ทั้งหมดที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม ลดการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มจัด หวานจัด มันจัด รวมถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์หลากหลายครบ 5 หมู่ และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยพัฒนาสมรรถภาพทางกายให้แข็งแรง ช่วยป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงและสูบฉีดเลือดได้ดีขึ้น ลดอัตราการเต้นของหัวใจทั้งในขณะพักและออกกำลังกาย ทำให้ไม่เหนื่อยง่าย ลดแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายทำให้ความดันโลหิตลดลง ลดปริมาณไขมันชนิด Triglyceride LDL และเพิ่ม HDL cholesterol จึงลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน รวมถึงช่วยส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับ และลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้
จากข้อมูลในรายงาน HDC จังหวัดสงขลา (ที่มา รายงาน HDC สงขลา ณ วันที่ 25 ส.ค.67 )พบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในตำบาลคลองหรัง จำนวน 721 ราย ควบคุมความดันโลหิตได้ 274 ราย คิดเป็นร้อยละ 38 และร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จากจำนวน 204 ได้รับการประเมิน เพียง 167 คิดเป็นร้อยละ 81.07 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ (เกณฑ์ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90) ซึ่งข้อมูลดังกล่าว หากผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงควบคุมภาวะของโรคไม่ได้ มีผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาเรื้อรัง เพื่อหาแนวทางการดูแลรักษาและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จึงจัดทำโครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริโภคอาหารรสเค็ม และอาหารมัน และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
- ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรัง จำนาน 70 ราย
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในคลินิก จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรังจำนาน 70 ราย
- กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน
- กิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
140
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี และนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะแทรกซ้อน
80.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยในคลินิกได้รับการเฝ้าระวังติดตาม
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
140
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (2) ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรัง จำนาน 70 ราย (2) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในคลินิก จำนวน 70 ราย (3) กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน (4) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย (5) กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน (6) จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน (7) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรังจำนาน 70 ราย (8) กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน (9) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย (10) กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน (11) กิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-05 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกอีกย่างว่า NCDs (Non-Communicable Diseases) เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อและไม่ได้ติดต่อจากคนสู่คน โดยจะมีการดำเนินโรคอย่างช้า ๆ จนโรคมีความรุนแรงมากขึ้นและกลายเป็นอาการเรื้อรัง ซึ่งปัญหาของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจนเกิดเป็นปัญหาสุขภาพทั่วโลก หากมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมองตีบ เป็นต้น (อุไรวรรณ สาสังข์ และคณะ, 2565) ประเทศไทยมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม โดยปี 2562 พบว่า ประชากรในประเทศไทยบริโภคโซเดียมเฉลี่ย 3,636 มิลลิกรัม หรือเท่ากับเกลือถึง 1.8 ช้อนชา ซึ่งมีปริมาณเกินกว่าที่องค์การอนามัยโลก แนะนำ 1.5-2 เท่า และยังไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง นอกจากนี้ พบว่า ภาคใต้มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในการบริโภคโซเดียมอยู่ที่ 4,107.8 มิลลิกรัม/วัน/คน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับโซเดียมจากการรับประทานอาหาร แบ่งออกเป็น การเติมขณะปรุงอาหารร้อยละ 71 อาหารตามธรรมชาติร้อยละ 18 การปรุงรสเพิ่มบนโต๊ะอาหารร้อยละ 11 (กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, 2566) การบริโภคเกลือและโซเดียมมากเกินไปจะส่งผลให้ร่างกายเกิดภาวะความดัน โลหิตสูง ซึ่งสัมพันธ์กับข้อมูลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายในปี 2562 พบจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงประมาณ 14 ล้านคน (ร้อยละ 25.4) เท่ากับ 1 ใน 4 ของคนไทย ทั้งหมดที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การรับประทานอาหารที่เหมาะสม ลดการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มจัด หวานจัด มันจัด รวมถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์หลากหลายครบ 5 หมู่ และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยพัฒนาสมรรถภาพทางกายให้แข็งแรง ช่วยป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงและสูบฉีดเลือดได้ดีขึ้น ลดอัตราการเต้นของหัวใจทั้งในขณะพักและออกกำลังกาย ทำให้ไม่เหนื่อยง่าย ลดแรงต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายทำให้ความดันโลหิตลดลง ลดปริมาณไขมันชนิด Triglyceride LDL และเพิ่ม HDL cholesterol จึงลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน รวมถึงช่วยส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับ และลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ จากข้อมูลในรายงาน HDC จังหวัดสงขลา (ที่มา รายงาน HDC สงขลา ณ วันที่ 25 ส.ค.67 )พบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในตำบาลคลองหรัง จำนวน 721 ราย ควบคุมความดันโลหิตได้ 274 ราย คิดเป็นร้อยละ 38 และร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จากจำนวน 204 ได้รับการประเมิน เพียง 167 คิดเป็นร้อยละ 81.07 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ (เกณฑ์ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90) ซึ่งข้อมูลดังกล่าว หากผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงควบคุมภาวะของโรคไม่ได้ มีผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาเรื้อรัง เพื่อหาแนวทางการดูแลรักษาและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จึงจัดทำโครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริโภคอาหารรสเค็ม และอาหารมัน และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสาธิตย้อนกลับการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
- ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรัง จำนาน 70 ราย
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในคลินิก จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรังจำนาน 70 ราย
- กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน
- กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย
- กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน
- กิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 140 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้ป่วยมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี และนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะแทรกซ้อน |
80.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยในคลินิกได้รับการเฝ้าระวังติดตาม |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 140 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมความรู้และความตระหนักให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานมี พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. ๒ ส.และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (2) ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรัง จำนาน 70 ราย (2) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในคลินิก จำนวน 70 ราย (3) กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน (4) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย (5) กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน (6) จัดกิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน (7) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน พร้อมเจาะเลือดประจำปีเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้กับผู้ป่วยในคลินิก รพ.สต.คลองหรังจำนาน 70 ราย (8) กิจกรรมรณรงค์ตรวจจอประสาทตา ตรวจเท้า แช่เท้า สำหรับผู้ป่วยเบาหวานในตำบลคลองหรัง จำนวน 200 คน (9) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ในชุมชนเรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในตำบลคลองหรัง จำนวน 70 ราย (10) กิจกรรมติดตามอาการและติดตามค่าความดันโลหิตในกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงที่บ้าน (11) กิจกรรมออกกำลังกายแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.คลองหรัง ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......