กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายสมพงค์ โต๊ะเอียด




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5307-4-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 153,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนทุกคนในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น โดยให้ท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง และที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต โดยมีกิจกรรมที่กองทุนสามารถสนับสนุน แยกได้เป็น 8 ประเภท คือ กิจกรรมเพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชนหรือหน่วยงานอื่น กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยที่บริหารจัดการหรือดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชนหรือการพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนหรือการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนหรือการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตคนพิการในชุมชน กิจกรรมเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ กิจกรรมกิจกรรมเพื่อสนับสนุนเป็นค่าจ้างหรือค่าตอบแทนหรือค่าป่วยการของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง กิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขอื่น ตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ซึ่งกิจกรรมเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นการสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานอื่น ๆ ที่กรรมการกองทุนแต่งตั้งให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ที่จำเป็น
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนเพื่อใช้ในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  6. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์
  2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  3. กิจกรรมติดตามประเมินโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
  4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน
  5. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1
  6. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
  7. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2
  8. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2
  9. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3
  10. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3
  11. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 1
  12. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4
  13. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 2
  14. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 5
  15. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4
  16. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 3
  17. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 6
  18. กิจกรรมทำแผนสุขภาพตำบล ปี 2569
  19. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 7

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต
1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
2. คณะกรรมการกองทุนฯ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) คณะอนุกรรมการกองทุนฯ และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ ร้อยละ 90
3. มีกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
ผลลัพธ์
ทำให้คุณภาพการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนเป็นไปตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน

วันที่ 9 ตุลาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน
1. ติดต่อประสานงานผู้ขอรับทุนเพื่อกำหนดนัดหมายการอบรม
2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการอบรม เช่น ค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3. จัดเตรียมสถานที่ในการอบรม
4. ดำเนินการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน ผู้เข้าร่วมโครงการ 38 คน

 

0 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2567
1. ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ  เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม 2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด 5. จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 14 โครงการ 6. สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 8 คน พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 14 โครงการ

 

8 0

3. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดต่อประสานงานคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด 1. จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา
2. จัดประชุมผู้รับผิดชอบงานกองทุน และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ร่วมกับการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
3. สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 24 คน

 

25 0

4. กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์

วันที่ 19 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ถ่ายเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 วันที่ 19 เดือนธันวาคม 2567 เป็นเงิน 876 บาท
2.ถ่ายเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2 เดือนมกราคม 2568 เป็นเงิน 1,125 บาท
3.ถ่ายเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2568 เป็นเงิน 555 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และคณะกรรมการกองทุนฯ

 

30 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 13 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ 1.ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ  เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
2.จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3.จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 4.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด 5.จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
6.สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ มีผู้เข้าประชุมทั้งหมด 8 คน พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 11 โครงการ

 

8 0

6. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2

วันที่ 20 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ 1. ติดต่อประสานงานคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม 2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน 3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด 4.1 จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา
4.2 จัดประชุมผู้รับผิดชอบงานกองทุน และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ร่วมกับการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
4.3 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 24 คน

 

25 0

7. กิจกรรมติดตามประเมินโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามประเมินโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
1. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควนโดยคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน 1 คน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ1 คน
2. นำเสนอผลการติดตามประเมินโครงการให้คณะกรรมการกองทุนฯรับทราบในการประชุมคณะกรรมการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน จำนวน โครงการ
โดยคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน 1 คน และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ1 คน
1.ประเมินโครงการเท่าทันสื่อรอบรู้ด้านสุขภาพกาย จิตดี ห่างไกลภัยออนไลน์ งบประมาณ 34,615 บาท โดยเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลบ้านควน ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2568
2.ประเมินโครงการฟันสวย ยิ้มใส โรงเรียนโคกทรายอนุสรณ์ งบประมาณ 10,665 บาท โดยโรงเรียนโคกทรายอนุสรณ์ ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568
3.ประเมินโครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2568
4.ประเมินโครงการวัยรุ่น วัยใส ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านควน ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2568
5.ประเมินโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ตำบลบ้านควน ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.บ้านควน ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2568
6.ประเมินโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน โดยกลุ่มตลาดนัดสุขภาพบ้านทุ่งวิมาน ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2568
7.ประเมินโครงการคัดกรอง ค้นหาผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ของคนบ้านควน ปี 2568 โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน1 ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2568
8.ประเมินโครงการว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยโรงเรียนบ้านกาลูบี ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2568
9.ประเมินโครงการตาดีกายุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ โดยศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) กาเด๊ะ ประเมินโครงการเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2568

 

0 0

8. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมการประชุม สัมมนา อบรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเข้าร่วมการประชุม สัมมนา อบรมการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จำนวน 2 คน

 

30 0

9. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
1. ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการเพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
5. จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
6. สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
งบประมาณ
กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ เป็นเงิน 2,640 บาท
1. ค่าเบี้ยประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการฯ 8 คน ๆ ละ 300 บาท  เป็นเงิน 2,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 8 คน ๆ ละ 30 บาท  เป็นเงิน 240 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3 มีผู้เข้าร่วมประชุม 7 คน

 

8 0

10. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 1

วันที่ 7 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) 1. ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) คณะอนุกรรมการกองทุนฯเพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม 2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน 3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด 5. จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 6. จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 7. สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จำนวน 10 คน

 

12 0

11. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

วันที่ 11 เมษายน 2568 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดต่อประสานงานคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
  2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
  3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
  4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
    4.1 จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา
    4.2 จัดประชุมผู้รับผิดชอบงานกองทุน และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ร่วมกับการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
    4.3 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ
    งบประมาณ
    กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ที่ปรึกษาและคณะอนุกรรมการกองทุนฯ เป็นเงิน 10,750 บาท
    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะกรรมการกองทุนฯ ที่ปรึกษา ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ 25 คน ๆ ละ 30 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
    2.ค่าเบี้ยประชุมสำหรับคณะกรรมการกองทุนฯ ที่ปรึกษา ผู้รับผิดชอบงานกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนฯในการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 25 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 มีผู้เข้าร่วมประชุม 23 คน ไม่เข้าร่วมประชุม จำนวน 2 คน

 

25 0

12. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 2

วันที่ 24 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC)
1. ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) คณะอนุกรรมการกองทุนฯเพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
5. จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
6. จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
7. สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC)
งบประมาณ
กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ เป็นเงิน 3,960 บาท
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ 12 คน ๆ ละ 30 บาท 1 มื้อ จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 360 บาท
2. ค่าเบี้ยประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ 12 คน ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 2 จำนวน 10 คน

 

12 0

13. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4

วันที่ 12 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
1. ติดต่อประสานงานคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการเพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนอนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
5. จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
6. สรุปผลการประชุมและมติคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ เข้าร่วมประชุมพิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 7 คน พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 3 โครงการ

 

8 0

14. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

วันที่ 19 มิถุนายน 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดต่อประสานงานคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมายการประชุม
  2. จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
  3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
  4. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
    4.1 จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา
    4.2 จัดประชุมผู้รับผิดชอบงานกองทุน และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ร่วมกับการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
    4.3 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จำนวน 21 คน พิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 3 โครงการ

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
7.40 6.50

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
15.00 17.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
20.00 22.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
33.00 34.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
65.72 71.43

 

6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
6.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์ (2) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (3) กิจกรรมติดตามประเมินโครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน (4) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้รับทุน (5) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1 (6) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (7) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2 (8) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2 (9) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3 (11) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 1 (12) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4 (13) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 2 (14) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 5 (15) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4 (16) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ครั้งที่ 3 (17) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 6 (18) กิจกรรมทำแผนสุขภาพตำบล ปี 2569 (19) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 7

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5307-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมพงค์ โต๊ะเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด