โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวัชรี บินสอาด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-7-1 เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-7-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อ เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกายการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดสมองและหัวใจมะเร็งถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้ อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลก สาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายของประชากรโลก
ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่มีเพิ่มมากขึ้นทุกปี ผู้รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของรพ.สต.ตำบลบ้านควน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีจากข้อมูลการคัดกรอง ค้นหากลุ่มสงสัยป่วยในแต่ละปีและจากการส่งต่อผู้ป่วยกลับของ รพ.แม่ข่าย ที่ลดความแออัดทำให้ รพ.สต.มีจำนวนผู้ป่วยที่ต้องดูแลเพิ่มมากขึ้นปัจจุบัน รพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง มีภาวะไตวายเรื้อรัง ระยะ 3a จำนวน 33ราย3b จำนวน 4 รายและระดับ 4 จำนวน 2 ราย กลุ่มผู้ป่วยดังกล่าว เป็นกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง ไม่ให้การทำงานของไตแย่ลงกว่าเดิมซึ่งปัจจัยหลักในการดูแลสุขภาพ เน้นในเรื่อง 3อ2ส การใช้ยาเบาหวาน หรือยาความดันโลหิตยาอื่นๆ สมุนไพรต่างๆรวมไปถึง ญาติผู้ดูแลต้องมีความรู้ในการดูแล เฝ้าระวัง ส่งเสริมและป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้น
ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านคควน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว สามารถควบคุมความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรังได้โดยมีญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถจัดการปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยได้ถูกต้องเหมาะสมส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง
- เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมโครงการ
- อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ (จัดทำกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 75 คน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้รู้เท่าทันภาวะสุขภาพของตนเอง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ มีความรู้เกี่ยวกับปัญหา สาเหตุ ระดับความรุนแรงของไตวายเรื้อรัง อาการแต่ละระดับความรุนแรงและการดูแลเฝ้าระวังภาวะสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น เรื่องอาหาร การใช้ยาแผนปัจจุบัน ยาสมุนไพร และอาหารเสริมต่างๆสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้เหมาะสม
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ มีภาวะไตวายเรื้อรังที่ไม่รุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเองเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 100
50.00
100.00
2
เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ได้รับการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ร้อยละ 100
50.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง (2) เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ (จัดทำกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 75 คน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-7-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวัชรี บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางวัชรี บินสอาด
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-7-1 เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5307-7-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อ เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกายการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดสมองและหัวใจมะเร็งถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้ อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลก สาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายของประชากรโลก
ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่มีเพิ่มมากขึ้นทุกปี ผู้รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของรพ.สต.ตำบลบ้านควน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีจากข้อมูลการคัดกรอง ค้นหากลุ่มสงสัยป่วยในแต่ละปีและจากการส่งต่อผู้ป่วยกลับของ รพ.แม่ข่าย ที่ลดความแออัดทำให้ รพ.สต.มีจำนวนผู้ป่วยที่ต้องดูแลเพิ่มมากขึ้นปัจจุบัน รพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง มีภาวะไตวายเรื้อรัง ระยะ 3a จำนวน 33ราย3b จำนวน 4 รายและระดับ 4 จำนวน 2 ราย กลุ่มผู้ป่วยดังกล่าว เป็นกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง ไม่ให้การทำงานของไตแย่ลงกว่าเดิมซึ่งปัจจัยหลักในการดูแลสุขภาพ เน้นในเรื่อง 3อ2ส การใช้ยาเบาหวาน หรือยาความดันโลหิตยาอื่นๆ สมุนไพรต่างๆรวมไปถึง ญาติผู้ดูแลต้องมีความรู้ในการดูแล เฝ้าระวัง ส่งเสริมและป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้น
ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านคควน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว สามารถควบคุมความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรังได้โดยมีญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถจัดการปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยได้ถูกต้องเหมาะสมส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง
- เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมโครงการ
- อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ (จัดทำกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 75 คน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้รู้เท่าทันภาวะสุขภาพของตนเอง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ มีความรู้เกี่ยวกับปัญหา สาเหตุ ระดับความรุนแรงของไตวายเรื้อรัง อาการแต่ละระดับความรุนแรงและการดูแลเฝ้าระวังภาวะสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น เรื่องอาหาร การใช้ยาแผนปัจจุบัน ยาสมุนไพร และอาหารเสริมต่างๆสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้เหมาะสม
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ มีภาวะไตวายเรื้อรังที่ไม่รุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเองเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 100 |
50.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ได้รับการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ร้อยละ 100 |
50.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้ไม่ดีรู้ถึงภาวะสุขภาพของตนเอง เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง (2) เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนไตวายเรื้อรัง และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในหลอดเลือดฝอยได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ (จัดทำกิจกรรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 75 คน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รู้เท่าทัน ป้องกันไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5307-7-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวัชรี บินสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......