กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร ”
ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางมณีรัตน์บุญเต็ม




ชื่อโครงการ เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร

ที่อยู่ ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5208-2-2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิจิตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5208-2-2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิจิตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการตรวจสภาวะช่องปาก พ.ศ. ๒๕๕๙ ในกลุ่มเด็กอายุ ๓ ปี ในอำเภอนาหม่อม มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ ๔๑.๖๓ ในตำบลพิจิตรพบอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ ๕๐.๓๕ ในตำบลนาหม่อมพบอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ ๓๓.๓๓ ในตำบลทุ่งขมิ้นพบอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ ๔๓.๔๕ ในตำบลคลองหรังพบอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ ๓๙.๔๐ ซึ่งจัดว่าเป็นปัญหาที่สูงทางทันตสุขภาพ ซึ่งช่องปากเป็นประตูสำคัญของสุขภาพ สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเกิดโรคฟันผุในเด็กมีปัจจุบันเกี่ยวข้องหลายด้าน ทั้งความแข็งแรงของฟันที่ขึ้นมา อาหาร การทำความสะอาด ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้ โดยต้องอาศัยการเอาใจใส่ดูแลจากผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นสำคัญ และต้องเอาใจใส่ดูแลตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้นมาในช่องปาก ด้วยข้อจำกัดหลายๆ อย่างทำให้ทันตบุคลากรไม่สามารถเข้าถึงเด็กเล็กได้ตั้งแต่้ฟันขึ้นในช่องปาก เด็กและผู้เลี้ยงดูจึงได้รับการส่งเสริมป้องกันที่ล่าช้าและไม่ครอบคลุมเพื่อป้องกันการเกิดฟันผุ ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก เด็กที่มีฟันน้ำนมผุจะมีเชื้อโรคในช่องปากมากกว่าเด็กที่มีฟันไม่ผุ การมีฟันน้ำนมผุจึงอาจมีผลให้ฟันน้ำนมซี่อื่นๆ ในปากรวมถึงฟันแท้ผุมากขึ้น ด้วยเหตุนี้การจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชนจึงกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญที่จะใช้ในการรณรงค์และกระตุ้นความสนใจของผู้ปกครองและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดังนั้นในปีงบประมาณ ๒๕๖๐เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอนาหม่อมร่วมกับ อสม.ตำบลพิจิตร จึงจัดกิจกรรมโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ ๐-๓ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลาในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ขึ้นเพื่อให้เกิดการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาฟันผุในกลุ่มเด็กเล็ก ๓ ปี โดย อสม. ในหมู่บ้าน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการกระตุ้นความตระหนักของผู้เลี้ยงดูเด็กโดย อสม. ซึ่งเป็นบุคลากรในพื้นที่ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้นสู่ช่องปากและส่งผลให้ลดอัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มเด็ก ๓ ปี ในภาพรวมได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้
  2. เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้เลี้ยงดูเด็กได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก ๒.อสม. มีความรู้ สามารถ่ายทอดความรู้ และดูแลเด็กในหมู่บ้านของตนเองได้ ๓.กลุ่ม อสม. ในตำบลพิจิตร สามารถเป็น อสม. ต้นแบบ และถ่ายทอดให้ อสม. ในตำบลอื่นๆ ได้ ๔.เด็ก ๐-๓ ปีไม่เกิด caries ใหม่ และแปรงฟันสะอาดมีสุขภาพช่องปากที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ (2) เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี โดย อสม. ตำบลพิจิตร จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5208-2-2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมณีรัตน์บุญเต็ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด