กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3000.00 2400.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค
500.00 400.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ40และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันได้ดีร้อยละ60
700.00 350.00

 

4 ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ20
30.00 6.00

 

5 เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเข้าสู่เบาหวานระยะสงบของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เป้าหมายอย่างน้อย 10 % ของผู่ป่วยรายใหม่
3.00 2.00

 

6 เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด : Hb1C < 6.5 % โดยไม่ใช่ยาเบาหวานมากกว่า 3 เดือน ( ติดตาม ครบ 1 ปี )
3.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3690
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 190
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป 3,000

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชน35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดีและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี (4) ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงจากปีที่ผ่านมา (5) เพื่อพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ชนิดที่ 2 เข้าสู่ระยะสงบ (6) เพื่อให้กลุ่มผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกกรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมดำเนินงาน (3) การติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh