โครงการปรับพฤติกรรมเปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคความดันเบาหวาน ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการปรับพฤติกรรมเปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคความดันเบาหวาน ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L6961-1-30 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก |
วันที่อนุมัติ | 9 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเยาวลักษณ์ ชูขาว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคดังกล่าว ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 เป็นหน่วยงานที่ให้บริการตรวจคัดกรองและรักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมภาวะของโรคได้ ในปี 2567 คิดเป็นร้อยละ 50.38 เนื่องจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตรวมถึงการรับประทานอาหารและยาของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน การอบรมเชิงรวมจึงไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้
ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการจัดทำโครงการปรับพฤติกรรมเปลี่ยนชีวิตพิชิตโรคความดันเบาหวาน ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังรายบุคคลส่งผลให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมภาวะของโรคที่ตนเองเป็นได้และใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถลดภาวะแทรกซ้อนและลดการใช้ยาได้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถลดภาวะแทรกซ้อนและลดการใช้ยาได้ ร้อยละ 50 |
100.00 | 50.00 |
2 | เพื่อติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในรายที่ไม่สามารถควบคุมภาวะของโรคได้โดยการทำ HBPM และ SMBG ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในรายที่ไม่สามารถควบคุมภาวะของโรคได้รับการติดตามโดยการทำ HBPM และ SMBG ร้อยละ 100 |
60.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 30,000.00 | 0 | 0.00 | 30,000.00 | |
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลในวันคลินิค | 0 | 0.00 | - | - | ||
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในรายที่ไม่สามารถควบคุมภาวะของโรคได้โดยการทำ HBPM และ SMBG | 0 | 30,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 30,000.00 | 0 | 0.00 | 30,000.00 |
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถลดภาวะแทรกซ้อนและลดการใช้ยาได้
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในรายที่ไม่สามารถควบคุมภาวะของโรคได้รับการติดตามโดยการทำ HBPM และ SMBG
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2567 00:00 น.