ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ ”
โรงเรียนบ้านปีใหญ่
หัวหน้าโครงการ
นายสุไลมาน ยังปากน้ำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02 เลขที่ข้อตกลง 03/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปีใหญ่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านปีใหญ่ รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,295.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์ฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรม สุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2561-2565 มีเด็กอ้วนเพิ่ม ขึ้นปีละ 4 ล้านคน สอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐาน ข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561-2565 พบเด็กอ้วน สูงกว่า ค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำ กว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันภาวะ น้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนไปเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวมี ผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหาร ที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ กับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภท นี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหว ร่างกาย น้อยลง เป็นสาเหตุทำ ให้เกิดโรคอ้วนซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควร ใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง จริงจัง จากการสํารวจ ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง และโรคหัวใจ เป็นต้น
โรงเรียนบ้านปีใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนบุคลากรในโรงเรียนและ บริเวณชุมชนรอบ ข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของ นักเรียนมาตลอดส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกันให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่า ที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรม ที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป โดยมีข้อมูลในปี 2566 มี นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ14.55 จากนักเรียนจำนวน 110 คน โดยจำแนกนักเรียนอ้วนจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.18และนักเรียนผอมจำนวน7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.36 และในปี 2567 นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 20.53 จากนักเรียนทั้งหมด 112 คนโดยจำแนกเป็นนักเรียนอ้วน 13 คนคิดเป็นร้อยละ11.60นักเรียนผอม 10 คน คิดเป็นร้อยละ 8.92จากข้อมูลข้างต้นเห็นได้ว่านักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเพิ่มสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะยังมีนักเรียนที่อ้วน ผอม อยู่ นักเรียนกลุ่มนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และ ความมีวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหาร ที่ไม่มีประโยชน์ ขาดการออกกำลังกายและ มีสภาวะทางอารมณ์ที่ยังไม่เอื้อต่อ พัฒนาการ ด้านการเรียนรู้ ซึ่งหลัก 3 อ มีความ มี สำคัญและ จำเป็นอย่างมากในการ แก้ปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปจึงจำเป็น อย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพของ นักเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีสุมีขภาพที่ดี
จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จึงได้จัดทำ โครงการ "ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่"ขึ้นมา เพื่อแก้ ปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและสุขภาพของ นักเรียน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ลดลงและหมดไปในที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน
- สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียน
- ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วย 3 อ ( อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์)
- ติดตามประเมินผล
- ประเมินและถอดบทเรียนจากกิจกรรม
- รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
112
กลุ่มวัยทำงาน
33
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
2.เด็กที่มีนำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
145
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
112
กลุ่มวัยทำงาน
33
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน (2) สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียน (3) ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วย 3 อ ( อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) (4) ติดตามประเมินผล (5) ประเมินและถอดบทเรียนจากกิจกรรม (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุไลมาน ยังปากน้ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ ”
โรงเรียนบ้านปีใหญ่
หัวหน้าโครงการ
นายสุไลมาน ยังปากน้ำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02 เลขที่ข้อตกลง 03/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปีใหญ่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านปีใหญ่ รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,295.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์ฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรม สุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2561-2565 มีเด็กอ้วนเพิ่ม ขึ้นปีละ 4 ล้านคน สอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐาน ข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561-2565 พบเด็กอ้วน สูงกว่า ค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำ กว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันภาวะ น้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนไปเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวมี ผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหาร ที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ กับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภท นี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหว ร่างกาย น้อยลง เป็นสาเหตุทำ ให้เกิดโรคอ้วนซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควร ใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง จริงจัง จากการสํารวจ ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง และโรคหัวใจ เป็นต้น
โรงเรียนบ้านปีใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนบุคลากรในโรงเรียนและ บริเวณชุมชนรอบ ข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของ นักเรียนมาตลอดส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกันให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่า ที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรม ที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป โดยมีข้อมูลในปี 2566 มี นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ14.55 จากนักเรียนจำนวน 110 คน โดยจำแนกนักเรียนอ้วนจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.18และนักเรียนผอมจำนวน7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.36 และในปี 2567 นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 20.53 จากนักเรียนทั้งหมด 112 คนโดยจำแนกเป็นนักเรียนอ้วน 13 คนคิดเป็นร้อยละ11.60นักเรียนผอม 10 คน คิดเป็นร้อยละ 8.92จากข้อมูลข้างต้นเห็นได้ว่านักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเพิ่มสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะยังมีนักเรียนที่อ้วน ผอม อยู่ นักเรียนกลุ่มนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และ ความมีวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหาร ที่ไม่มีประโยชน์ ขาดการออกกำลังกายและ มีสภาวะทางอารมณ์ที่ยังไม่เอื้อต่อ พัฒนาการ ด้านการเรียนรู้ ซึ่งหลัก 3 อ มีความ มี สำคัญและ จำเป็นอย่างมากในการ แก้ปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปจึงจำเป็น อย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพของ นักเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีสุมีขภาพที่ดี
จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จึงได้จัดทำ โครงการ "ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่"ขึ้นมา เพื่อแก้ ปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและสุขภาพของ นักเรียน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ลดลงและหมดไปในที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน
- สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียน
- ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วย 3 อ ( อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์)
- ติดตามประเมินผล
- ประเมินและถอดบทเรียนจากกิจกรรม
- รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 112 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 33 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2.เด็กที่มีนำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 145 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 112 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 33 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน (2) สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียน (3) ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วย 3 อ ( อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) (4) ติดตามประเมินผล (5) ประเมินและถอดบทเรียนจากกิจกรรม (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L8010-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุไลมาน ยังปากน้ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......