กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายหมัด หีมเหม




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L8367-01-01 เลขที่ข้อตกลง 1/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8367-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกถือว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด โดยเฉพาะโรคติดต่อ ที่มียุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ซึ่งในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วยการพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ
    ตำบลบ้านนา โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตชุมชนที่มีประชากรหนาแน่น เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 5 ปีย้อนหลัง พื้นที่ตำบลบ้านนา พ.ศ. 2563 , 2564 , 2565 , 2566 และ2567 พบว่า อัตราป่วย 66.84 , 24.30, 0 , 666.84 , 710.94 และ 358.51 ต่อประชากรแสนคน และยังไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต (งานระบาดวิทยา สสอ.จะนะ) ซึ่งตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 20       จากสถิติดังกล่าวยังพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกือบทุกปี บางปีไม่มีผู้ป่วย เนื่องจากทีผ่านมามีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) บางปีฝนทิ้งช่วงยาว ดังนั้นในการดำเนินงานที่สำคัญที่สุดในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก คือ การป้องกันโรคล่วงหน้าซึ่งต้องดำเนินการก่อนการเกิดโรค หากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมโรคจะทำได้ลำบากและสูญเสียงบประมาณในการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในบ้านนอกบ้าน ตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เก็บบ้าน (ให้ปลอดโปร่ง ไม่ให้ยุงเกาะพัก) เก็บขยะ (กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง) เก็บน้ำ (ปิดฝาให้มิดชิด ไม่ให้ยุงวางไข่ หากปิดไม่ได้ให้เปลี่ยนบ่อย ๆ/เทน้ำทิ้ง) ป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า  เป็นวิธีทีดีที่สุด
      ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลบ้านนา กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลจะนะ เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลจะนะไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
  2. เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน และศาสนสถาน ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
  3. ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุม ปรึกษาหารือคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน
  2. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกพื้นที่ ทต.จะนะ
  3. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Big cleaning) เชิงรุกรายชุมชน
  4. กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสรุปผล
  5. กิจกรรมที่ 1 ประชุม ปรึกษาหารือคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน
  6. กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกพื้นที่ ทต.จะนะ
  7. รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Big cleaning) เชิงรุกรายชุมชน
  8. ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 570
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกพื้นที่เทศบาลตำบลจะนะลดลง
  2. ค่า HI ในชุมชนน้อยกว่าร้อยละ 10 ค่า CI ในโรงเรียนเท่ากับ 0 และศาสนสถานน้อยกว่าร้อยละ 5
  3. สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายให้น้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลจะนะไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 20

 

2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน และศาสนสถาน ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI ในชุมชนน้อยกว่าร้อยละ 10 CI โรงเรียนเท่ากับ 0 และศาสนสถานน้อยกว่าร้อยละ 5

 

3 ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Big cleaning) เชิงรุกมากกว่าร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 570
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 570
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลจะนะไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด (2) เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน  และศาสนสถาน ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด (3) ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุม ปรึกษาหารือคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน (2) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกพื้นที่ ทต.จะนะ (3) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Big cleaning) เชิงรุกรายชุมชน (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสรุปผล (5) กิจกรรมที่ 1 ประชุม ปรึกษาหารือคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน (6) กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกพื้นที่ ทต.จะนะ (7) รณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Big cleaning) เชิงรุกรายชุมชน (8) ประชุมคณะทำงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L8367-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหมัด หีมเหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด