กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายวีระ โรจนอาชา




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L8301-1-01 เลขที่ข้อตกลง สปสช 01/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8301-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปีงบประมาณ 2567 โรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยจำนวนมากในทุกกลุ่มวัยและประชาชนก็ยังไม่ตระหนักและรู้ถึงความรุนแรงของโรคนี้ โดยครัวเรือนยังไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้อง การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่ไม่ดีทำให้ยุงลายขยายพันธุ์เพิ่มขึ้นทำให้ประชาชนยิ่งมีความเสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออกมากขึ้นด้วย โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกี่ มียุงลายเป็นพาหะ เมื่อยุงลายไปกัดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก เชื้อจะฟักตัวในยุงประมาณ 8 -10 วัน และเก็บไว้ในต่อมน้ำลาย เมื่อยุงไปกัดคนที่ปกติ ก็จะปล่อยเชื้อเข้าไปในตัวคนทำให้ป่วยเป็นไข้เลือดออก ทำให้มีอาการตั้งแต่เล็กน้อยถึงรุนแรงมาก แต่ส่วนใหญ่มักมีอาการไม่รุนแรง โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงอย่างเฉียบพลันและไข้จะสูงตลอดทั้งวันประมาณ 2-7 วัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ส่วนใหญ่มีอาการหน้าแดง อาจมีจุดแดงเล็ก ๆ ขึ้นตามลำตัว แขน ขา ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูก มักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และเบื่ออาหาร ต่อมาไข้จะลดลง ในระยะนี้ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะอาจเกิดอาการรุนแรง อาจมีภาวะช็อกและเสียชีวิตได้โดยโรคไข้เลือดออก มี 4 สายพันธุ์ เมื่อติดเชื้อสายพันธุ์ใดแล้วก็จะมีภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์นั้น แต่ก็มีโอกาสที่จะติดสายพันธุ์อื่น ๆ ได้อีก ซึ่งการติดเชื้อครั้งที่สองอาจรุนแรงกว่าครั้งแรก สำหรับ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา (ข้อมูล ตั้งแต่ 1 มค. – 14 สค. 67) พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 2,623 ราย มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย เป็นอันดับที่1 ของเขตสุขภาพที่ 12
สำหรับกลุ่มอายุที่มากที่สุดคือ 10-14 ,5-9 และ 15-19 ตามลำดับ และยังพบในวัยแรงงาน อีกทั้งในกลุ่มผู้สูงอายุอีกด้วย จากสถานการณ์การระบาดฯ และเพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และให้ความร่วมมือในการควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ รพ.สต.ท่าข่อย,รพ.สต.บ้านไร่, รพ.สต.เขารูปช้าง, ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปาดังเบซาร์  อถล.และ อสม. ในเขตพื้นที่ ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมจัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อเตรียมพร้อมรับมือ “โรคไข้เลือดออก” ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่ต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน หน่วยงานราชการ ศาสนสถานต่างๆในพื้นที่ 3. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในกลุ่มอายุลดลง 2.ลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน หน่วยงานราชการ ศาสนสถานต่างๆในพื้นที่ลดลง 3.ประชาชนเห็นความสำคัญเกิดความตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน หน่วยงานราชการ ศาสนสถานต่างๆในพื้นที่ 3. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน หน่วยงานราชการ ศาสนสถานต่างๆในพื้นที่ 3. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลปาดัง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L8301-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีระ โรจนอาชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด