โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ ”
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ขวัญแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-50105-02-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-50105-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยกำลังเข้าสู่สังคมสูงอายุสมบูรณ์ คาดว่าในปี พ.ศ.2574จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด ถึงร้อยละ 28 (วิมล,2564) จากรายงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุงปี 2567 ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 22.84สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 ได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แล้วเช่นกัน โดยปี 2567 มีสัดส่วนประชากรสูงอายุ ร้อยละ 17.36 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรสูงที่สุด และเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ คือจังหวัดพัทลุง มีประชากร สูงอายุถึงร้อยละ 24.60 (ข้อมูลจากHDC 24สิงหาคม 2567)จากการคัดกรองผู้สูงอายุ ข้อมูลปี2567 พบเสี่ยงภาวะหกล้ม ร้อยละ 5.15กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ 2.69และ อ.ควนขนุน มีประชากรผู้สูงอายุ ถึงร้อยละ29.58 จากการคัดกรองผู้สูงอายุอ.ควนขนุนพบเสี่ยงภาวะหกล้มร้อยละ4.45กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ1.92(ข้อมูลจาก HDC ในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 ) รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา มีผู้สูงอายุ จำนวน 659 คน จากการคัดกรองผู้สูงอายุอ.ควนขนุนพบเสี่ยงภาวะหกล้มร้อยละ 16.29กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ 5.91 จากสถานการณ์ความเสี่ยงดังกล่าวภาวะหกล้มและสมองเสื่อม ถือเป็นปัญหาสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นอย่างมาก ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และเป็นภาระของครอบครัว ในระยะยาว จึงควรมีการดูแลระบบในกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้เกิดการดูแลที่มีคุณภาพและครบวงจร
ในปี 2566 กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด ให้ประเด็นผู้สูงอายุเป็นประเด็นสำคัญ มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม อีกทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขได้กำหนดประเด็นผู้สูงอายุเป็นหนึ่ง ในกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ โดยมุ่งด้านการขับเคลื่อน การปฏิรูประบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านการบริบาล การรักษาพยาบาลที่บ้าน /ชุมชน การดูแลสุขภาพตนเองในระบบสุขภาพปฐมภูมิเชิงนวัตกรรม ยกระดับคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำ ในการเข้าถึงบริการโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น การดำเนินกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุ โดยเน้นระบบการดูแลสุขภาพไร้รอยต่อโดยมีการดำเนินการตั้งแต่การคัดกรองส่งเสริมและป้องกันโรค ดูแลให้คำแนะนำ ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย ในคลินิกผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนขนุน และส่งต่อโรงพยาบาลพัทลุง ตามขั้นตอนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อย่างมีคุณภาพและครอบคลุมและมีการดูแลผู้สูงอายุ โดยไร้รอยต่อในเขตพื้นที่ ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านศาลาตำเสาจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพขึ้นเพื่อปัญหาผู้สูงอายุได้รับการดูแลแก้ไข ตลอดจนส่งเสริม ความรอบรู้ด้านสุขภาพครอบคลุมครบทั้ง 5 มิติ (กาย จิต สังคม อารมญ์และจิตวิญญาณ ) ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเพื่อกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- อบรมการตรวจคัดกรองสุขภาพผุู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุและการจัดทำแผนสุขภาพดีแก่ผู้ดูแลหรือญาติ
- จัดอบรมให้ความรู้แกนนำผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตามรูปแบบสุข 5 มิติ และมีการจัดทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน เดือนละ 1 ครั้ง
- เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเพื่อติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
658
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
50.00
60.00
2
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
16.38
15.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
658
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
658
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเพื่อกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ (2) อบรมการตรวจคัดกรองสุขภาพผุู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุและการจัดทำแผนสุขภาพดีแก่ผู้ดูแลหรือญาติ (3) จัดอบรมให้ความรู้แกนนำผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตามรูปแบบสุข 5 มิติ และมีการจัดทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน เดือนละ 1 ครั้ง (4) เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเพื่อติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-50105-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโสภา ขวัญแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ ”
หัวหน้าโครงการ
นางโสภา ขวัญแก้ว
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-50105-02-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-50105-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยกำลังเข้าสู่สังคมสูงอายุสมบูรณ์ คาดว่าในปี พ.ศ.2574จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด ถึงร้อยละ 28 (วิมล,2564) จากรายงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุงปี 2567 ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ ร้อยละ 22.84สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 ได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แล้วเช่นกัน โดยปี 2567 มีสัดส่วนประชากรสูงอายุ ร้อยละ 17.36 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรสูงที่สุด และเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ คือจังหวัดพัทลุง มีประชากร สูงอายุถึงร้อยละ 24.60 (ข้อมูลจากHDC 24สิงหาคม 2567)จากการคัดกรองผู้สูงอายุ ข้อมูลปี2567 พบเสี่ยงภาวะหกล้ม ร้อยละ 5.15กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ 2.69และ อ.ควนขนุน มีประชากรผู้สูงอายุ ถึงร้อยละ29.58 จากการคัดกรองผู้สูงอายุอ.ควนขนุนพบเสี่ยงภาวะหกล้มร้อยละ4.45กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ1.92(ข้อมูลจาก HDC ในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 ) รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา มีผู้สูงอายุ จำนวน 659 คน จากการคัดกรองผู้สูงอายุอ.ควนขนุนพบเสี่ยงภาวะหกล้มร้อยละ 16.29กลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม ร้อยละ 5.91 จากสถานการณ์ความเสี่ยงดังกล่าวภาวะหกล้มและสมองเสื่อม ถือเป็นปัญหาสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นอย่างมาก ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และเป็นภาระของครอบครัว ในระยะยาว จึงควรมีการดูแลระบบในกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้เกิดการดูแลที่มีคุณภาพและครบวงจร
ในปี 2566 กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด ให้ประเด็นผู้สูงอายุเป็นประเด็นสำคัญ มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม อีกทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขได้กำหนดประเด็นผู้สูงอายุเป็นหนึ่ง ในกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ โดยมุ่งด้านการขับเคลื่อน การปฏิรูประบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านการบริบาล การรักษาพยาบาลที่บ้าน /ชุมชน การดูแลสุขภาพตนเองในระบบสุขภาพปฐมภูมิเชิงนวัตกรรม ยกระดับคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำ ในการเข้าถึงบริการโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น การดำเนินกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุ โดยเน้นระบบการดูแลสุขภาพไร้รอยต่อโดยมีการดำเนินการตั้งแต่การคัดกรองส่งเสริมและป้องกันโรค ดูแลให้คำแนะนำ ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย ในคลินิกผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนขนุน และส่งต่อโรงพยาบาลพัทลุง ตามขั้นตอนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อย่างมีคุณภาพและครอบคลุมและมีการดูแลผู้สูงอายุ โดยไร้รอยต่อในเขตพื้นที่ ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านศาลาตำเสาจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพขึ้นเพื่อปัญหาผู้สูงอายุได้รับการดูแลแก้ไข ตลอดจนส่งเสริม ความรอบรู้ด้านสุขภาพครอบคลุมครบทั้ง 5 มิติ (กาย จิต สังคม อารมญ์และจิตวิญญาณ ) ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมเพื่อกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- อบรมการตรวจคัดกรองสุขภาพผุู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุและการจัดทำแผนสุขภาพดีแก่ผู้ดูแลหรือญาติ
- จัดอบรมให้ความรู้แกนนำผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตามรูปแบบสุข 5 มิติ และมีการจัดทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน เดือนละ 1 ครั้ง
- เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเพื่อติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 658 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น |
50.00 | 60.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง |
16.38 | 15.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 658 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 658 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเพื่อกำหนดเกณฑ์คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ (2) อบรมการตรวจคัดกรองสุขภาพผุู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุและการจัดทำแผนสุขภาพดีแก่ผู้ดูแลหรือญาติ (3) จัดอบรมให้ความรู้แกนนำผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตามรูปแบบสุข 5 มิติ และมีการจัดทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน เดือนละ 1 ครั้ง (4) เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุเพื่อติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุชะมวงสุขใจ สูงวัยอย่างมีค่า ชราอย่างคุณภาพ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-50105-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโสภา ขวัญแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......