โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เขตอบต.นาประดู่ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เขตอบต.นาประดู่ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2981-2-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 |
วันที่อนุมัติ | 29 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 38,630.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสิป๊ะ เพ็งมูซอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางฟาฏิมะฮ จารู |
พื้นที่ดำเนินการ | ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.7 ม.8 ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 85 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยมานาน ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้พื้นที่ตำบลนาประดู่ เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกและเป็นมาอย่างต่อเนื่อง ส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงฤดูฝนของทุกปี
ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการตรียมพร้อมในการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคอย่างเข้มข้นในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดความตระหนัก ในการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ การควบคุมให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที จึงจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐาน ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4จึงได้จัดทำโครงการชาวนาประดู่ร่วมใจป้องกันภัยจากโรคไข้เลือดออก เขต อบต.นาประดู่ ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน เผ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตามหลัก 3 เก็บ 3 โรค ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจและ ตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตามหลัก 3 เก็บ 3 โรค |
85.00 | 85.00 |
2 | เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกลดลง |
85.00 | 85.00 |
3 | เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HI CI ) ของแต่ละหมู่บ้าน มีค่าไม่เกิน 10 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HI CI ) ของแต่ละหมู่บ้าน มีค่าไม่เกิน 10 |
85.00 | 85.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน | 0 | 24,255.00 | - | ||
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ ประชาชน เรื่องโรคไข้เลือดออก พร้อมทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย | 0 | 10,475.00 | - | ||
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมประชุมตัวแทนทีมสุ่มประเมิน และลงพื้นที่ออกสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย 15 คน จำนวน 2 ครั้ง | 0 | 3,900.00 | - | ||
รวม | 0 | 38,630.00 | 0 | 0.00 |
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตามหลัก 3 เก็บ 3 โรคได้อย่างถูกต้อง
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
ค่า HI CI ในชุมชนลดลงและไม่เกินตามเกณฑ์ที่กำหนด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2567 11:04 น.