โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพร ใส่ใจสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพร ใส่ใจสุขภาพ |
รหัสโครงการ | 68-L1482-02-17 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม. รพ.สต.ทุ่งยาว |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 19,650.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวศศิธร รอดเข็ม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
องค์ความรู้ ภูมิปัญญา หรือศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทย เป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อการแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด ซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวาง ตามที่รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาสมุนไพรไทยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ส่งเสริมการพัฒนาต่อยอดยารักษาโรค เน้นการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน ตลอดจนส่งเสริมให้เกษตรกรมีการเพาะปลูกสมุนไพรในแต่ละชุมชน เพื่อช่วยกระจายโอกาส สร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ต้องการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น โดยให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ด้านการใช้สมุนไพรและสามารถนำสมุนไพรไทยไปใช้ดูแลตนเอง คนในครอบครัว และชุมชนได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการ รู้จัก ชื่อ สรรพคุณ และโทษ ของสมุนไพรในท้องถิ่น ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตอบคำถาม เกี่ยวกับสมุนไพร รู้จัก ชื่อ สรรพคุณ และโทษ ของสมุนไพรในท้องถิ่นได้ถูกต้อง (มากกว่าร้อยละ 60) |
1.00 | |
2 | ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้และทักษะในการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพได้ |
1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,650.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | ส่งเสริมการใช้สมุนไพร ใส่ใจสุขภาพ | 0 | 19,650.00 | - |
๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค ๒. ชุมชนมีการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2567 00:00 น.