โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย กังเจริญกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1482-02-10 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1482-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสาคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด ในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหา วิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสาคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนาให้ ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรม สาคัญที่ต้องเร่งรัดดาเนินการจากการวิเคราะห์สาเหตุที่สาคัญของการดาเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ไข้เลือดออก
ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า ประชาชนขาดความตระหนัก และความเอาใจใส่ในการควบคุมและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย บริเวณบ้านเรือนของตนเอง ทั้งนี้ การกระจายตัวของโรคไข้เลือดออกจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการ แพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า จึงจัดทาโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อสร้าง ความเข้าใจแก่ประชาชน องค์กรในชุมชนให้เกิดความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค ไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมฟื้นฟูการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมเดินรณรงค์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,6,7
- กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกเมื่อเกิดการระบาด สถานที่หมู่ 4,6,7 ให้โรงเรียนและศูนย์สสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถานและสถานบริการสาธารณสุข อัตราความชุกของค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในชุมชน (HI, CI) ลดลง ร้อยละ ๘๐
2 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลงตามเป้าหมายที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมฟื้นฟูการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมเดินรณรงค์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,6,7 (3) กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกเมื่อเกิดการระบาด สถานที่หมู่ 4,6,7 ให้โรงเรียนและศูนย์สสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1482-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวิชัย กังเจริญกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย กังเจริญกุล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1482-02-10 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1482-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสาคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด ในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหา วิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสาคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนาให้ ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรม สาคัญที่ต้องเร่งรัดดาเนินการจากการวิเคราะห์สาเหตุที่สาคัญของการดาเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า ประชาชนขาดความตระหนัก และความเอาใจใส่ในการควบคุมและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย บริเวณบ้านเรือนของตนเอง ทั้งนี้ การกระจายตัวของโรคไข้เลือดออกจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการ แพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า จึงจัดทาโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อสร้าง ความเข้าใจแก่ประชาชน องค์กรในชุมชนให้เกิดความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค ไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมฟื้นฟูการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมเดินรณรงค์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,6,7
- กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกเมื่อเกิดการระบาด สถานที่หมู่ 4,6,7 ให้โรงเรียนและศูนย์สสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 75 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถานและสถานบริการสาธารณสุข อัตราความชุกของค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในชุมชน (HI, CI) ลดลง ร้อยละ ๘๐ 2 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลงตามเป้าหมายที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 75 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมฟื้นฟูการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมเดินรณรงค์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,6,7 (3) กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกเมื่อเกิดการระบาด สถานที่หมู่ 4,6,7 ให้โรงเรียนและศูนย์สสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1482-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวิชัย กังเจริญกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......