โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อีซอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-05-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-05-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฉีดวัคซีนเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุดสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยังไม่พัฒนาเต็มที่ การได้รับวัคซีนที่ครบถ้วนในช่วงเวลานี้จะช่วยป้องกันโรคที่เป็นอันตราย เช่น โรคหัด คางทูม ไอกรน โปลิโอ และโรคไข้สมองอักเสบ ซึ่งหลายโรคมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหรือเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการป้องกัน นอกจากนี้ การฉีดวัคซีน อย่างทั่วถึงไม่เพียงแต่จะป้องกันเด็กแต่ละคน แต่ยังช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคหมู่ ช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน และลดภาระทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาโรคติดต่อ ซึ่งการฉีดวัคซีนเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันโรคและการแพร่ระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก แต่ยังมีความท้าทายหลายประการที่ส่งผลให้เด็กอายุ 0 - 5 ปีบางส่วนไม่ได้รับวัคซีนตามกำหนด ซึ่งปัญหาเหล่านี้รวมถึงปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม การให้บริการสุขภาพ และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนที่ไม่เพียงพอ
หนึ่งในปัญหาหลักคือ การเข้าถึงบริการฉีดวัคซีนที่ไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ห่างไกลจากหน่วยบริการสาธารณสุข ทำให้ผู้ปกครองไม่สามารถพาเด็กไปฉีดวัคซีนได้ตรงตามเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ก็เป็นอุปสรรคสำคัญ โดยเฉพาะในครอบครัวที่มีรายได้น้อย ผู้ปกครองอาจไม่สามารถหาเวลาเดินทางไปสถานบริการสาธารณสุขหรือแบกรับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องได้ อีกประการหนึ่งที่ส่งผลกระทบ คือ ความเชื่อผิดเกี่ยวกับวัคซีน ซึ่งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผลข้างเคียงของวัคซีนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ ได้สร้างความไม่เชื่อมั่นในวัคซีนมากขึ้น ผู้ปกครองบางกลุ่มลังเลหรือปฏิเสธการฉีดวัคซีนให้บุตรหลาน ส่งผลให้เด็กเหล่านี้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคที่สามารถป้องกันได้ นอกจากนี้ ผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดใหม่ เช่น การระบาดของโรคโควิด - 19 ส่งผลให้การให้บริการฉีดวัคซีนหยุดชะงักในหลายพื้นที่ การเลื่อนหรือยกเลิกการนัดหมายฉีดวัคซีน ทำให้อัตราการได้รับวัคซีนลดลง ซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการระบาดของโรคที่เคยสามารถควบคุมได้แล้ว
องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักและการเข้าถึงบริการวัคซีนที่ทั่วถึงยังคงเป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อให้เด็กทุกคนได้รับการป้องกันโรคอย่างเหมาะสม และลดโอกาสการแพร่ระบาดของโรคในสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
- เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด
- เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
144
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
324
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ
- ค่าอาหารว่าง 35บาท X 20 คน X 1 มื้อ เป็นเงิน 700.- บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
0
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- ค่าอาหารกลางวัน 60บาท X 144 คน X 1มื้อเป็นเงิน 8,640.- บาท
- ค่าอาหารว่าง 35บาท X 144 คน X 2 มื้อเป็นเงิน 10,080.- บาท
- ค่าวัสดุ 60บาท X 144 คน (สมุด 10บ./ปากกา10บ./กระเป๋า40บ.) เป็นเงิน 8,640.- บาท
- ค่าวิทยากร 600 บาท X 5 ชั่วโมงเป็นเงิน 3,000.- บาท
- ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.3 X 2.5 เมตร X 1 ผืนเป็นเงิน800.-บาท
- รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 31,160.- บาท (สามหมื่นหนึ่งร้อยหกสิบบาทถ้วน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
0
0
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กืจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- ค่าอาหารกลางวัน 60บาท X 169 คน X 1มื้อ เป็นเงิน 10,140.- บาท
- ค่าอาหารว่าง 35บาท X 169 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 11,830.- บาท
- ค่าวัสดุ 60บาท X 169 คน (สมุด 10บ./ปากกา10บ./กระเป๋า40บ.) เป็นเงิน 10,140.- บาท
- ค่าวิทยากร 600 บาท X 5 ชั่วโมงเป็นเงิน 3,000.- บาท
- รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 35,110.- บาท (สามหมื่นห้าพันหนึ่งร้อยสิบบาทถ้วน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
0
0
4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารกลางวัน 60บาท X 155 คน X 1 มื้อ เป็นเงิน 9,300.- บาท
- ค่าอาหารว่าง 35บาท X 155 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 10,850.- บาท
- ค่าวัสดุ 60บาท X 155 คน (สมุด 10บ./ปากกา10บ./กระเป๋า40บ.) เป็นเงิน 9,300.- บาท
- ค่าวิทยากร 600บาท X 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,000.- บาท
- รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 32,450.- บาท (สามหมื่นสองพันสี่ร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00
0.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
468
468
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
144
144
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
324
324
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค (3) เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด (4) เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1 (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกัลยา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อีซอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-05-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-05-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฉีดวัคซีนเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุดสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยังไม่พัฒนาเต็มที่ การได้รับวัคซีนที่ครบถ้วนในช่วงเวลานี้จะช่วยป้องกันโรคที่เป็นอันตราย เช่น โรคหัด คางทูม ไอกรน โปลิโอ และโรคไข้สมองอักเสบ ซึ่งหลายโรคมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหรือเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการป้องกัน นอกจากนี้ การฉีดวัคซีน อย่างทั่วถึงไม่เพียงแต่จะป้องกันเด็กแต่ละคน แต่ยังช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคหมู่ ช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน และลดภาระทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาโรคติดต่อ ซึ่งการฉีดวัคซีนเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันโรคและการแพร่ระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก แต่ยังมีความท้าทายหลายประการที่ส่งผลให้เด็กอายุ 0 - 5 ปีบางส่วนไม่ได้รับวัคซีนตามกำหนด ซึ่งปัญหาเหล่านี้รวมถึงปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม การให้บริการสุขภาพ และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนที่ไม่เพียงพอ
หนึ่งในปัญหาหลักคือ การเข้าถึงบริการฉีดวัคซีนที่ไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ห่างไกลจากหน่วยบริการสาธารณสุข ทำให้ผู้ปกครองไม่สามารถพาเด็กไปฉีดวัคซีนได้ตรงตามเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ก็เป็นอุปสรรคสำคัญ โดยเฉพาะในครอบครัวที่มีรายได้น้อย ผู้ปกครองอาจไม่สามารถหาเวลาเดินทางไปสถานบริการสาธารณสุขหรือแบกรับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องได้ อีกประการหนึ่งที่ส่งผลกระทบ คือ ความเชื่อผิดเกี่ยวกับวัคซีน ซึ่งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผลข้างเคียงของวัคซีนผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ ได้สร้างความไม่เชื่อมั่นในวัคซีนมากขึ้น ผู้ปกครองบางกลุ่มลังเลหรือปฏิเสธการฉีดวัคซีนให้บุตรหลาน ส่งผลให้เด็กเหล่านี้เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคที่สามารถป้องกันได้ นอกจากนี้ ผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดใหม่ เช่น การระบาดของโรคโควิด - 19 ส่งผลให้การให้บริการฉีดวัคซีนหยุดชะงักในหลายพื้นที่ การเลื่อนหรือยกเลิกการนัดหมายฉีดวัคซีน ทำให้อัตราการได้รับวัคซีนลดลง ซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการระบาดของโรคที่เคยสามารถควบคุมได้แล้ว
องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักและการเข้าถึงบริการวัคซีนที่ทั่วถึงยังคงเป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อให้เด็กทุกคนได้รับการป้องกันโรคอย่างเหมาะสม และลดโอกาสการแพร่ระบาดของโรคในสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
- เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด
- เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 144 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 324 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ - ค่าอาหารว่าง 35บาท X 20 คน X 1 มื้อ เป็นเงิน 700.- บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ - ค่าอาหารกลางวัน 60บาท X 144 คน X 1มื้อเป็นเงิน 8,640.- บาท - ค่าอาหารว่าง 35บาท X 144 คน X 2 มื้อเป็นเงิน 10,080.- บาท - ค่าวัสดุ 60บาท X 144 คน (สมุด 10บ./ปากกา10บ./กระเป๋า40บ.) เป็นเงิน 8,640.- บาท - ค่าวิทยากร 600 บาท X 5 ชั่วโมงเป็นเงิน 3,000.- บาท - ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.3 X 2.5 เมตร X 1 ผืนเป็นเงิน800.-บาท - รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 31,160.- บาท (สามหมื่นหนึ่งร้อยหกสิบบาทถ้วน) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1 |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกืจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1 รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ - ค่าอาหารกลางวัน 60บาท X 169 คน X 1มื้อ เป็นเงิน 10,140.- บาท - ค่าอาหารว่าง 35บาท X 169 คน X 2 มื้อ เป็นเงิน 11,830.- บาท - ค่าวัสดุ 60บาท X 169 คน (สมุด 10บ./ปากกา10บ./กระเป๋า40บ.) เป็นเงิน 10,140.- บาท - ค่าวิทยากร 600 บาท X 5 ชั่วโมงเป็นเงิน 3,000.- บาท - รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 35,110.- บาท (สามหมื่นห้าพันหนึ่งร้อยสิบบาทถ้วน) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2 |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก
- มีภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : |
0.00 | 0.00 |
|
|
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 468 | 468 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 144 | 144 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 324 | 324 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็กให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค (3) เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด (4) เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมภาคีเครือข่ายในการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็กเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 1 (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองนักเรียนอนุบาลเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคหัด รุ่นที่ 2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันโรคหัดระบาดในพื้นที่ตำบลจวบ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกัลยา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......