โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม ”
ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสีตีรอหานิง โดะสะนิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุ ซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากพบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยรวมหลายๆอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตัวเอง การอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน ทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหาร เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่าง ๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ และสภาวะเหงือกอักเสบซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยเป็นส่วนมากและเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดู เนื่องจากการรักษาโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยทำได้ยาก เพราะเด็กให้ความร่วมมือน้อย
แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้ เด็กปฐมวัยยังไม่สามารถดูแลตัวเองได้มากนัก ในการพัฒนาด้านใด ๆ ก็ตาม เด็กวัยนี้ต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนเป็นอย่างมากจากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก จึงเหมาะแก่การปลูกฝังและส่งเสริมด้านการดูแลทันตสุขภาพ การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลงการที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกัน ระยะแรกผู้ปกครองต้องแปรงให้เด็กก่อน เมื่อเด็กมีกำลังข้อมือและมือที่แข็งแรงจึงเริ่มกระตุ้นให้เด็กแปรงเองและตรวจดูความสะอาดของช่องปากเด็กทุกครั้ง การดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่เยาว์วัยเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้เด็กเติบโตมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง และสวยงาม
จากการสำรวจของครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม พบว่ามีเด็กนักเรียน 37 คน ที่มีปัญหาฟันผุ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลามได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลามขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงการมีทันตสุขภาพที่ดีของเด็กตั้งแต่เยาว์วัย ส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภค เลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันผุลดลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและบุคลากร
- สาธิตกสรแปรงฟัน
- ติดตามผลการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดการเกิดโรคฟันผุ
2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
3.การมีส่วนร่วมระหว่างเด็กผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่มีปัญหาฟัผุน้อยลง
4.00
80.00
2
เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
4.00
80.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ตัวชี้วัด : เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
4.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและบุคลากร (2) สาธิตกสรแปรงฟัน (3) ติดตามผลการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสีตีรอหานิง โดะสะนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม ”
ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสีตีรอหานิง โดะสะนิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุ ซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากพบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยรวมหลายๆอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตัวเอง การอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน ทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหาร เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่าง ๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ และสภาวะเหงือกอักเสบซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยเป็นส่วนมากและเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดู เนื่องจากการรักษาโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยทำได้ยาก เพราะเด็กให้ความร่วมมือน้อย
แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้ เด็กปฐมวัยยังไม่สามารถดูแลตัวเองได้มากนัก ในการพัฒนาด้านใด ๆ ก็ตาม เด็กวัยนี้ต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนเป็นอย่างมากจากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก จึงเหมาะแก่การปลูกฝังและส่งเสริมด้านการดูแลทันตสุขภาพ การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลงการที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกัน ระยะแรกผู้ปกครองต้องแปรงให้เด็กก่อน เมื่อเด็กมีกำลังข้อมือและมือที่แข็งแรงจึงเริ่มกระตุ้นให้เด็กแปรงเองและตรวจดูความสะอาดของช่องปากเด็กทุกครั้ง การดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่เยาว์วัยเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้เด็กเติบโตมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง และสวยงาม
จากการสำรวจของครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม พบว่ามีเด็กนักเรียน 37 คน ที่มีปัญหาฟันผุ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลามได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการฟันสวยยิ้มใสสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลามขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงการมีทันตสุขภาพที่ดีของเด็กตั้งแต่เยาว์วัย ส่งเสริมการสร้างสุขนิสัยที่ถูกต้องในการบริโภค เลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันผุลดลง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและบุคลากร
- สาธิตกสรแปรงฟัน
- ติดตามผลการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดการเกิดโรคฟันผุ 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 3.การมีส่วนร่วมระหว่างเด็กผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่มีปัญหาฟัผุน้อยลง |
4.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง |
4.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม ตัวชี้วัด : เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม |
4.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม และผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและบุคลากร (2) สาธิตกสรแปรงฟัน (3) ติดตามผลการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันสวยยิ้มใสใส่ใจในสุขภาพฟันเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุสสลาม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสีตีรอหานิง โดะสะนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......