กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการร้านค้ารักษ์โลก ”




หัวหน้าโครงการ
นายกัมพล รายา




ชื่อโครงการ โครงการร้านค้ารักษ์โลก

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L8010-02-04 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านค้ารักษ์โลก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านค้ารักษ์โลก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านค้ารักษ์โลก " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2568-L8010-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 ธันวาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,727.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนก็เปลี่ยนแปลงไปจากการปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้นประชาชนบางส่วนไม่ได้เลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพเสมอไป ในบางครั้งอาหารที่หาซื้อได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว หรือคุ้มค่า มักเป็นทางเลือกที่นิยมมากกว่า จนกลายเป็นนิสัยการบริโภคอาหารจานด่วน (Fast Food) หรืออาหารถุง ซึ่งการจำหน่ายอาหารในปัจจุบันผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารนิยมนำถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟม (Foam) มาใช้เป็นภาชนะบรรจุอาหาร ทั้งอาหารสด ผักสด อาหารพร้อมปรุง และอาหารปรุงสำเร็จ ด้วยเหตุผลที่ว่าซื้อหาได้ง่าย สะดวก และราคาถูก การใช้ถุงพลาสติกหรือโฟมบรรจุอาหารปรุงสำเร็จมักจะใส่อาหารที่มีความร้อนและไขมัน ซึ่งถุงพลาสติกหรือโฟมที่นำมาบรรจุอาหารเหล่านั้น หากเจอความร้อนและไขมันจะหลอมละลายจนอาจเกิดสาร "สไตรีน" ออกมาปนเปื้อนในอาหาร หากสะสมในปริมาณมากอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคได้ โดยพิษภัยของกล่องโฟมใส่อาหารนั้น มีดังนี้ 1. เสี่ยงมะเร็งมากกว่าคนปกติ 6 เท่า 2.ส่งผลกระทบต่อสมองและระบบประสาท 3.ทำให้เกิดการปนเปื้อนในอาหาร 4.ทำลายอวัยวะภายใน และ 5.สร้างมลภาวะที่ร้ายแรง เราจะเห็นว่าด้วยราคาถูก ผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ ถุงพลาสติกหรือโฟมบรรจุอาหารที่ใช้แล้วจึงถูกทิ้งเป็นขยะจำนวนมาก โดยเฉพาะถุงพลาสติกมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถุงพลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมเป็นขยะที่มีความคงทนและสามารถทนต่อแรงอัดได้สูง และใช้เวลานานในการย่อยสลายทำให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อมและก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนอีกด้วย จากข้อมูลร้านค้าจำหน่ายอาหารและร้านขายของชำในพื้นที่ตำบลกำแพง พบว่ามีทั้งหมด 93 ร้าน มีร้านค้าจำหน่ายอาหาร จำนวน 57 ร้าน และร้านขายของชำ จำนวน 36 ร้าน ซึ่งจากการสำรวจข้อมูลพบว่าร้านค้าจำหน่ายอาหาร จำนวน 57 ร้าน มีการใช้โฟมในการบรรจุอาหารจำนวน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 3.5 และร้านขายของชำ จำนวน 36 ร้าน ก็ยังมีการใช้ถุงพลาสติกใส่ของอยู่เช่นเดียวกัน ซึ่งการใช้ถุงพลาสติกของร้านค้าจำหน่ายอาหารและร้านขายของชำในพื้นที่ตำบลกำแพง คิดเป็นร้อยละ 99 ในส่วนของร้านค้าแผงลอย/รถเร่จำหน่ายอาหารในที่หรือทางสาธารณะ ตลาดนัด พบว่ายังมีการใช้โฟมบรรจุอาหารอยู่ แต่มีจำนวนน้อย และร้านค้าแผงลอย/รถเร่จำหน่ายอาหารดังกล่าวไม่ได้ค้าขายเป็นประจำ ทั้งนี้ถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหารนั้นใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายนาน ทั้งยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้บริโภคอีกด้วย

กลุ่มกำแพงรักษ์โลกได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการขึ้นเพื่อรณรงค์สร้างความตระหนักในการลดจำนวนการใช้ถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหารที่เป็นมลพิษทั้งต่อผู้บริโถคและสิ่งแวดล้อม สนับสนุน ส่งเสริมให้ร้านค้าลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหาร ให้มีการใช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กระดาษ กล่องไบโอชานอ้อย พลาสติกไบโอ แทนถุงพลาสติกหรือโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้ได้มากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการ แกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลก และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ถุงพลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมบรรจุอาหาร ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก และบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟม มีปริมาณขยะจากถุงพลาสติกและบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมที่ลดลง และมีร้านค้าเข้าร่วมโครงการฯ อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ร้านค้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างกลไกการขับเคลื่อนการทำงาน
  2. ให้ความรู้แก่แกนนำเครือข่ายกลุ่มกำแพงรักษ์โลกประจำหมู่บ้าน และคณะกรรมการกลุ่มกำแพงรักษ์โลก
  3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครร้านค้าเข้าร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก
  4. สุ่มติดตามร้านค้าชุมชนร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก
  5. ถอดบทเรียน และมอบป้ายร้านค้าชุมชนเข้าร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก
  6. รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลกและแกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลก มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ถุงพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  2. ผู้ประกอบการร้านอาหาร/ร้านขายของชำ และแผงลอย และประชาชนมีจิตสำนึก ลด ละ เลิกการใช้ถุงพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
  3. ปริมาณขยะ ถุงพลาสติกในชุมชนลดลง กลุ่มเป้าหมายมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน และให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม
  4. เกิดเครือข่ายแกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลก สามารถให้ความรู้และให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านค้า/ร้านขายของชำ ประชาชน เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ถุงพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหารได้ และมีร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการฯ ชุมชนละ 2 ร้าน นำร่องเกี่ยวกับการลดใช้ถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหาร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสร้างกลไกการขับเคลื่อนการทำงาน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะกรรมการ จำนวน 15 คนๆละ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะกรรมการ จำนวน 15 คนๆละ

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการ แกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลก และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ถุงพลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมบรรจุอาหาร ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการ และแกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์โลก มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติกบรรจุอาหาร ได้รู้ถึงโทษและอันตรายจากการใช้โฟม ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
0.00

 

2 เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก และบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟม มีปริมาณขยะจากถุงพลาสติกและบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมที่ลดลง และมีร้านค้าเข้าร่วมโครงการฯ อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ร้านค้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ปริมาณการใช้ถุงพลาสติก และบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมลดลง มีปริมาณขยะจากถุงพลาสติกและบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมที่ลดลงด้วย และร้านค้าเข้าร่วมโครงการฯ หมู่บ้านละ 2 ร้านค้า
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการ แกนนำกลุ่มกำแพงรักษ์รักโลก และประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ถุงพลาสติกหรือบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมบรรจุอาหาร ลด ละ เลิก การใช้ถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (2) เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก และบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟม มีปริมาณขยะจากถุงพลาสติกและบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากโฟมที่ลดลง และมีร้านค้าเข้าร่วมโครงการฯ อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ร้านค้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างกลไกการขับเคลื่อนการทำงาน (2) ให้ความรู้แก่แกนนำเครือข่ายกลุ่มกำแพงรักษ์โลกประจำหมู่บ้าน และคณะกรรมการกลุ่มกำแพงรักษ์โลก (3) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครร้านค้าเข้าร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก (4) สุ่มติดตามร้านค้าชุมชนร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก (5) ถอดบทเรียน และมอบป้ายร้านค้าชุมชนเข้าร่วมโครงการร้านค้ารักษ์โลก (6) รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านค้ารักษ์โลก จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L8010-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกัมพล รายา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด